พบคนไทยพิการขาจากเบาหวานมากกว่าอุบัติเหตุ

แสดงความคิดเห็น

นพ.ประดิษฐ์ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

นพ.ประดิษฐ์ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เปิดโครงการ “เข้าสิทธิสร้างโอกาสคนพิการสู่สังคม” พร้อมมอบอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการแก่ผู้พิการ 50 คน และชมการผลิตขาเทียมของรถโมบายเคลื่อนที่ พร้อมเปิดเผยข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติ ล่าสุดพบประเทศไทยมีผู้พิการขาขาด 46,000 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้พิการจากการป่วยเป็นโรคเบาหวานที่ต้องตัดขาทิ้ง รองลงมาเป็นอุบัติเหตุ แต่มีผู้ที่ต้องถูกตัดขา 3,500 คน ทั้งนี้ จากการสำรวจล่าสุดพบว่า เหลือผู้พิการอีก 19,310 คน ยังไม่ได้รับขาเทียม การรับขาเทียมจะทำให้ผู้พิการสามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ ช่วยเหลือตนเอง อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี ทั้งนี้ ตั้งเป้าในปี 2559 จัดทำขาเทียมให้กับผู้พิการครบทั้งหมด 100% โดยใช้งบประมาณ 200 ล้านบาท สำหรับหน่วยงานที่ร่วมผลิตขาเทียม นอกจากสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 101 แห่งแล้ว ยังมีหน่วยงานภายนอกอีก 21 แห่ง ใช้งบประมาณผลิตขาเทียมข้างละ 30,000 บาท

น.ส.ณิชชารีย์ เป็นเอกชนะศักดิ์ หรือน้องธันย์ กล่าวว่า ใช้ขาเทียมมา 2 ปีแล้ว เข้าใจความรู้สึกของผู้ที่ต้องใช้ขาเทียมว่าต้องมีความอดทน รวมทั้งยังมีปัญหาแผลกดทับที่ขา แต่ก็ขอให้กำลังใจทุกคนที่เป็นผู้พิการให้สามารถดำเนินชีวิตอย่างเข้มแข็ง. -

ขอบคุณ... http://www.mcot.net/site/content?id=5236e4e8150ba08c110001cd#.Uje-Jn-kPZ4 (ขนาดไฟล์: 175)

สำนักข่าวไทยออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 16 ก.ย.56

ที่มา: สำนักข่าวไทยออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 16 ก.ย.56
วันที่โพสต์: 17/09/2556 เวลา 03:28:58 ดูภาพสไลด์โชว์ พบคนไทยพิการขาจากเบาหวานมากกว่าอุบัติเหตุ

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

นพ.ประดิษฐ์ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ.ประดิษฐ์ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เปิดโครงการ “เข้าสิทธิสร้างโอกาสคนพิการสู่สังคม” พร้อมมอบอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการแก่ผู้พิการ 50 คน และชมการผลิตขาเทียมของรถโมบายเคลื่อนที่ พร้อมเปิดเผยข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติ ล่าสุดพบประเทศไทยมีผู้พิการขาขาด 46,000 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้พิการจากการป่วยเป็นโรคเบาหวานที่ต้องตัดขาทิ้ง รองลงมาเป็นอุบัติเหตุ แต่มีผู้ที่ต้องถูกตัดขา 3,500 คน ทั้งนี้ จากการสำรวจล่าสุดพบว่า เหลือผู้พิการอีก 19,310 คน ยังไม่ได้รับขาเทียม การรับขาเทียมจะทำให้ผู้พิการสามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ ช่วยเหลือตนเอง อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี ทั้งนี้ ตั้งเป้าในปี 2559 จัดทำขาเทียมให้กับผู้พิการครบทั้งหมด 100% โดยใช้งบประมาณ 200 ล้านบาท สำหรับหน่วยงานที่ร่วมผลิตขาเทียม นอกจากสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 101 แห่งแล้ว ยังมีหน่วยงานภายนอกอีก 21 แห่ง ใช้งบประมาณผลิตขาเทียมข้างละ 30,000 บาท น.ส.ณิชชารีย์ เป็นเอกชนะศักดิ์ หรือน้องธันย์ กล่าวว่า ใช้ขาเทียมมา 2 ปีแล้ว เข้าใจความรู้สึกของผู้ที่ต้องใช้ขาเทียมว่าต้องมีความอดทน รวมทั้งยังมีปัญหาแผลกดทับที่ขา แต่ก็ขอให้กำลังใจทุกคนที่เป็นผู้พิการให้สามารถดำเนินชีวิตอย่างเข้มแข็ง. - ขอบคุณ... http://www.mcot.net/site/content?id=5236e4e8150ba08c110001cd#.Uje-Jn-kPZ4 สำนักข่าวไทยออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 16 ก.ย.56

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...