ลดเวลาเรียกร้องค่าชดเชยให้สั้นลง

แสดงความคิดเห็น

ผลศึกษา โครงการอุบัติเหตุรถโดยสารสาธารณะ : ผลกระทบ การประกันภัย และการชดเชยเยียวยา ด้านการใช้จ่ายเพื่อรักษาพยาบาลนั้นเหมาะสมด้านจำนวนเงินชดเชยสำหรับกรณี ที่ผู้ประสบเหตุบาดเจ็บทั่วไป แต่ไม่เหมาะสมกรณีที่บาดเจ็บร้ายแรง เนื่องจากค่ารักษาพยาบาลเกินวงเงิน 50,000 บาท ที่ได้รับความคุ้มครองจาก พ.ร.บ. ภาคบังคับ ทำให้ได้รับชดเชยไม่เพียงพอ ส่วนค่าสินไหมทดแทนการขาดรายได้นั้น พบว่า เงินที่ได้รับเหมาะสม เมื่อเปรียบเทียบกับค่าขาดรายได้ที่ผู้ประสบเหตุระบุ และเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายครัวเรือนเฉลี่ยและระยะเวลาที่ขาดรายได้

นอกจากนี้ วงเงินคุ้มครองที่เป็นความเสียหายต่อการบาดเจ็บต่อร่างกายของไทยค่อนข้างต่ำ และไม่มีวงเงินคุ้มครองสำหรับความเสียหายต่อทรัพย์สิน เมื่อเปรียบเทียบวงเงินดังกล่าวกับต่างประเทศ แนวทางที่เหมาะสมคือปรับปรุงวงเงินค่าเสียหายเบื้องต้น ค่ารักษาพยาบาล จ่ายตามจริง แต่ไม่เกิน 150,000 บาท ชดเชยกรณีเสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือเสียอวัยวะ เสียชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร จ่ายช่วยเหลือเบื้องต้น 400,000 บาท สูญเสียอวัยวะหรือพิการ ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต จ่ายช่วยเหลือเบื้องต้น 240,000 บาท

การเรียกร้องค่าเสียหาย เฉลี่ย 18-19 เดือน ค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 120 ในกรณีสิ้นสุดที่กระบวนการไกล่เกลี่ย ระยะเวลาในการเรียกร้องค่าเสียหายค่อนข้างนานและไม่ทันการ ค่าเสียหายที่เป็นตัวเงินนั้นเป็นข้อจำกัดเกี่ยวกับกฎหมาย กระบวนการพิจารณาคดีแพ่งของไทยเน้นระบบกล่าวหามากกว่าไต่สวน การที่ไม่สามารถระบุค่าเสียหายที่ไม่ได้เรียกร้องหรือสิทธิที่จะสามารถแก้ไข คำพิพากษาได้ภายใน 2 ปี และข้อจำกัดในการขาดหลักการหรือวิธีการคำนวณที่เหมาะสมในการกำหนดค่าเสียหาย ที่เกิดขึ้นแล้วและวิธีที่ศาลใช้ในการกำหนดค่าเสียหายในอนาคต ส่วนข้อจำกัดด้านกำหนดค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงินคือการที่กฎหมายไม่ได้ กำหนดให้เรียกร้องค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงินและการขาดหลักหรือวิธีการ คำนวณที่เหมาะสม

สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อยกระดับความปลอดภัย การชดเชยค่ารักษาพยาบาลต้องรอพิสูจน์ถูกผิด ควรเพิ่มวงเงินค่ารักษาพยาบาลที่คุ้มครองและไม่ต้องรอพิสูจน์ถูกผิด การรวมวงเงินชดเชยและค่ารักษาพยาบาลควรแยกเงินชดเชยกรณีเสียชีวิตหรือ ทุพพลภาพออกจากค่ารักษาพยาบาล

เวลาเรียกร้องค่าชดเชยใช้เวลานานสร้างกลไกการชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดจาก การขนส่งตามพระราชบัญญัติการขนส่งทางบกให้ใช้เวลาสั้น การสร้างระบบการร่วมรับผิดของผู้ประกอบการที่เกิดอุบัติเหตุสร้างระบบร่วม จ่ายระหว่างบริษัทประกันภัยกับผู้ประกอบการ (ทั้งผู้ประกอบการที่มีใบอนุญาตและร่วมบริการ). ไฟเหลือง failuang@dailynews.co.th

ขอบคุณ... http://www.dailynews.co.th/article/335/196409 (ขนาดไฟล์: 167)

ที่มา: เดลินิวส์ออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 10 เม.ย.56
วันที่โพสต์: 11/04/2556 เวลา 04:10:58

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ผลศึกษา โครงการอุบัติเหตุรถโดยสารสาธารณะ : ผลกระทบ การประกันภัย และการชดเชยเยียวยา ด้านการใช้จ่ายเพื่อรักษาพยาบาลนั้นเหมาะสมด้านจำนวนเงินชดเชยสำหรับกรณี ที่ผู้ประสบเหตุบาดเจ็บทั่วไป แต่ไม่เหมาะสมกรณีที่บาดเจ็บร้ายแรง เนื่องจากค่ารักษาพยาบาลเกินวงเงิน 50,000 บาท ที่ได้รับความคุ้มครองจาก พ.ร.บ. ภาคบังคับ ทำให้ได้รับชดเชยไม่เพียงพอ ส่วนค่าสินไหมทดแทนการขาดรายได้นั้น พบว่า เงินที่ได้รับเหมาะสม เมื่อเปรียบเทียบกับค่าขาดรายได้ที่ผู้ประสบเหตุระบุ และเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายครัวเรือนเฉลี่ยและระยะเวลาที่ขาดรายได้ นอกจากนี้ วงเงินคุ้มครองที่เป็นความเสียหายต่อการบาดเจ็บต่อร่างกายของไทยค่อนข้างต่ำ และไม่มีวงเงินคุ้มครองสำหรับความเสียหายต่อทรัพย์สิน เมื่อเปรียบเทียบวงเงินดังกล่าวกับต่างประเทศ แนวทางที่เหมาะสมคือปรับปรุงวงเงินค่าเสียหายเบื้องต้น ค่ารักษาพยาบาล จ่ายตามจริง แต่ไม่เกิน 150,000 บาท ชดเชยกรณีเสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือเสียอวัยวะ เสียชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร จ่ายช่วยเหลือเบื้องต้น 400,000 บาท สูญเสียอวัยวะหรือพิการ ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต จ่ายช่วยเหลือเบื้องต้น 240,000 บาท การเรียกร้องค่าเสียหาย เฉลี่ย 18-19 เดือน ค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 120 ในกรณีสิ้นสุดที่กระบวนการไกล่เกลี่ย ระยะเวลาในการเรียกร้องค่าเสียหายค่อนข้างนานและไม่ทันการ ค่าเสียหายที่เป็นตัวเงินนั้นเป็นข้อจำกัดเกี่ยวกับกฎหมาย กระบวนการพิจารณาคดีแพ่งของไทยเน้นระบบกล่าวหามากกว่าไต่สวน การที่ไม่สามารถระบุค่าเสียหายที่ไม่ได้เรียกร้องหรือสิทธิที่จะสามารถแก้ไข คำพิพากษาได้ภายใน 2 ปี และข้อจำกัดในการขาดหลักการหรือวิธีการคำนวณที่เหมาะสมในการกำหนดค่าเสียหาย ที่เกิดขึ้นแล้วและวิธีที่ศาลใช้ในการกำหนดค่าเสียหายในอนาคต ส่วนข้อจำกัดด้านกำหนดค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงินคือการที่กฎหมายไม่ได้ กำหนดให้เรียกร้องค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงินและการขาดหลักหรือวิธีการ คำนวณที่เหมาะสม สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อยกระดับความปลอดภัย การชดเชยค่ารักษาพยาบาลต้องรอพิสูจน์ถูกผิด ควรเพิ่มวงเงินค่ารักษาพยาบาลที่คุ้มครองและไม่ต้องรอพิสูจน์ถูกผิด การรวมวงเงินชดเชยและค่ารักษาพยาบาลควรแยกเงินชดเชยกรณีเสียชีวิตหรือ ทุพพลภาพออกจากค่ารักษาพยาบาล เวลาเรียกร้องค่าชดเชยใช้เวลานานสร้างกลไกการชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดจาก การขนส่งตามพระราชบัญญัติการขนส่งทางบกให้ใช้เวลาสั้น การสร้างระบบการร่วมรับผิดของผู้ประกอบการที่เกิดอุบัติเหตุสร้างระบบร่วม จ่ายระหว่างบริษัทประกันภัยกับผู้ประกอบการ (ทั้งผู้ประกอบการที่มีใบอนุญาตและร่วมบริการ). ไฟเหลือง failuang@dailynews.co.th ขอบคุณ... http://www.dailynews.co.th/article/335/196409

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...