เปิดมุมมอง'อานันท์'ฝ่าวิกฤติการเมือง

แสดงความคิดเห็น

เปิดมุมมอง'อานันท์'ฝ่าวิกฤติการเมือง

เปิดมุมมอง'อานันท์'ฝ่าวิกฤติการเมือง : สัมภาษณ์พิเศษโดยนายเทพชัย หย่อง บรรณาธิการอำนวยการเครือเนชั่น นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์พิเศษ นายเทพชัย หย่อง บรรณาธิการอำนวยการเครือเนชั่น เกี่ยวกับสถานการณ์การเมือง โดยคม ชัด ลึก นำเสนอเป็น 2 ตอน

ตอนแรก อดีตนายกรัฐมนตรีมองชุมนุมตามแนวทางอารยะขัดขืนว่า เป็นเรื่องปกติในระบอบประชาธิปไตย ขอให้ทั้งสองฝ่ายหาทางออกคุยกันและหันมาแก้ที่ต้นเหตุปัญหาเชิงโครงสร้าง และตอนที่ 2 ฉบับวันพรุ่งนี้ อดีตนายกรัฐมนตรียังเสนอให้ "นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์" แสดงบทบาทในฐานะนายกรัฐมนตรีมากกว่านี้ เพื่อให้ประชาชนเชื่อได้ว่าไม่ได้ทำเพื่อ "ทักษิณ"

มองถึงทางออกกับสถานการณ์การเมืองในขณะนี้อย่างไร คนที่จะตอบคำถามนี้ได้ดีคือคุณสุเทพ เทือกสุบรรณ กับทางฝ่ายรัฐบาล เพราะเป็นการต่อสู้กันระหว่างสองฝ่าย ผมไม่ทราบจริงๆ เลย แต่ผมมองเหตุการณ์ทั้งหมดว่า บางครั้งบางคราวเราอาจจะตื่นตระหนกเกินขอบเขต ยกตัวอย่างในเรื่องการเดินขบวนทุกประเทศก็ทำกัน ดูประวัติศาสตร์ตามประเทศต่างๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกาสมัยผิวขาวผิวดำต่อสู้กัน และมีการเดินขบวนเป็นล้านไปที่วอชิงตัน ไปขอพบประธานาธิบดีเคนเนดี้ และขอคำมั่นสัญญาจากประธานาธิบดีเคนเนดี้ว่าจะจัดการเรื่องกฎหมายที่เรียก ว่า civil rights ให้เสร็จสิ้นไป เพื่อให้ความเป็นธรรมกับคนผิวดำ ซึ่งประธานาธิบดีเคนเนดี้ก็รับไป แต่ก็มีชีวิตอยู่ได้ไม่นานพอที่จะทำเรื่องนี้ให้สำเร็จ และส่งต่อให้ประธานาธิบดีจอห์นสัน ซึ่งนำเรื่องเข้าสู่รัฐสภา และออกมาเป็น civil rights bill (กฎหมายสิทธิพลเมือง) ปี 1964 ประเทศอื่นก็เหมือนกัน อย่างประเทศอินเดียก็มีการเดินขบวนสมัยของคานธี จนทำให้เกิดอารยะขัดขืนขณะนี้ถือเป็นเรื่องปกติในระบอบประชาธิปไตย

เป็นเรื่องปกติ ในอังกฤษที่มีปัญหาเรื่องนิวเคลียร์ ประชาชนเห็นว่าฝ่ายรัฐบาลเข้าไปใกล้ชิดกับรัฐบาลอเมริกัน ก็มีการเดินขบวนเป็นล้านเหมือนกัน นักเรียนจากมหาวิทยาลัยก็ไปเดินขบวนเหมือนกัน ดังนั้นเราจะต้องคำนึงว่ามันเป็นของธรรมดา อย่าไปมองว่าเป็นการล้มระบอบ หรือไม่เป็นไปตามกติกา ประเทศที่เป็นต้นฉบับของรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยของ Westminster ในอังกฤษ หรือระบบประธานาธิบดีที่อเมริกา ก็มีการเดินขบวน ฝรั่งเศส กรีซ ก็มีการเดินขบวน แต่ที่สำคัญที่สุด ผมพอใจคือ การเดินขบวนครั้งนี้ปราศจากอาวุธ เสียงอาจจะมากไปในเรื่องของนกหวีด หรือ การเล่นระเริงดนตรีมากไป หรืออะไรต่างๆ แต่ผมมองว่าเป็นเรื่องปลีกย่อย ตราบใดที่เป็นการชุมนุมโดยสงบ ปราศจากอาวุธ แต่ผมก็ต้องชมรัฐบาลที่เขาพยายามไม่ทำอะไรที่เกินขอบเขต ดังนั้นโอกาสที่จะปะทะกันผมว่ามีน้อยกว่าที่คนคิด แต่แน่ล่ะ ถ้าเผื่อฟังวาทกรรมของแต่ละฝ่ายทั้งสองเวที หรือในรัฐสภา ความดุเดือด ความรุนแรงมันมีในทางภาษา ทางวาทกรรม ตรงนี้ยังมีความหวังว่าจะไม่นำไปสู่การแตกหักอย่างจริงจังที่มีการสู้รบกัน บนถนน ผมไม่คิดว่าน่าจะเป็นไปได้ยังมองโลกในแง่ดีอยู่ อ่านข่าวนี้ทั้งหมด คลิก http://www.tddf.or.th/uploadedfiles/2013-11-29__295__.doc (ขนาดไฟล์: 595968)

ขอบคุณ... http://www.komchadluek.net/detail/20131129/173830.html (ขนาดไฟล์: 167)

(ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 29 พ.ย.56)

ที่มา: ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 29 พ.ย.56
วันที่โพสต์: 29/11/2556 เวลา 04:50:09 ดูภาพสไลด์โชว์ เปิดมุมมอง'อานันท์'ฝ่าวิกฤติการเมือง

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

เปิดมุมมอง'อานันท์'ฝ่าวิกฤติการเมือง เปิดมุมมอง'อานันท์'ฝ่าวิกฤติการเมือง : สัมภาษณ์พิเศษโดยนายเทพชัย หย่อง บรรณาธิการอำนวยการเครือเนชั่น นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์พิเศษ นายเทพชัย หย่อง บรรณาธิการอำนวยการเครือเนชั่น เกี่ยวกับสถานการณ์การเมือง โดยคม ชัด ลึก นำเสนอเป็น 2 ตอน ตอนแรก อดีตนายกรัฐมนตรีมองชุมนุมตามแนวทางอารยะขัดขืนว่า เป็นเรื่องปกติในระบอบประชาธิปไตย ขอให้ทั้งสองฝ่ายหาทางออกคุยกันและหันมาแก้ที่ต้นเหตุปัญหาเชิงโครงสร้าง และตอนที่ 2 ฉบับวันพรุ่งนี้ อดีตนายกรัฐมนตรียังเสนอให้ "นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์" แสดงบทบาทในฐานะนายกรัฐมนตรีมากกว่านี้ เพื่อให้ประชาชนเชื่อได้ว่าไม่ได้ทำเพื่อ "ทักษิณ" มองถึงทางออกกับสถานการณ์การเมืองในขณะนี้อย่างไร คนที่จะตอบคำถามนี้ได้ดีคือคุณสุเทพ เทือกสุบรรณ กับทางฝ่ายรัฐบาล เพราะเป็นการต่อสู้กันระหว่างสองฝ่าย ผมไม่ทราบจริงๆ เลย แต่ผมมองเหตุการณ์ทั้งหมดว่า บางครั้งบางคราวเราอาจจะตื่นตระหนกเกินขอบเขต ยกตัวอย่างในเรื่องการเดินขบวนทุกประเทศก็ทำกัน ดูประวัติศาสตร์ตามประเทศต่างๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกาสมัยผิวขาวผิวดำต่อสู้กัน และมีการเดินขบวนเป็นล้านไปที่วอชิงตัน ไปขอพบประธานาธิบดีเคนเนดี้ และขอคำมั่นสัญญาจากประธานาธิบดีเคนเนดี้ว่าจะจัดการเรื่องกฎหมายที่เรียก ว่า civil rights ให้เสร็จสิ้นไป เพื่อให้ความเป็นธรรมกับคนผิวดำ ซึ่งประธานาธิบดีเคนเนดี้ก็รับไป แต่ก็มีชีวิตอยู่ได้ไม่นานพอที่จะทำเรื่องนี้ให้สำเร็จ และส่งต่อให้ประธานาธิบดีจอห์นสัน ซึ่งนำเรื่องเข้าสู่รัฐสภา และออกมาเป็น civil rights bill (กฎหมายสิทธิพลเมือง) ปี 1964 ประเทศอื่นก็เหมือนกัน อย่างประเทศอินเดียก็มีการเดินขบวนสมัยของคานธี จนทำให้เกิดอารยะขัดขืนขณะนี้ถือเป็นเรื่องปกติในระบอบประชาธิปไตย เป็นเรื่องปกติ ในอังกฤษที่มีปัญหาเรื่องนิวเคลียร์ ประชาชนเห็นว่าฝ่ายรัฐบาลเข้าไปใกล้ชิดกับรัฐบาลอเมริกัน ก็มีการเดินขบวนเป็นล้านเหมือนกัน นักเรียนจากมหาวิทยาลัยก็ไปเดินขบวนเหมือนกัน ดังนั้นเราจะต้องคำนึงว่ามันเป็นของธรรมดา อย่าไปมองว่าเป็นการล้มระบอบ หรือไม่เป็นไปตามกติกา ประเทศที่เป็นต้นฉบับของรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยของ Westminster ในอังกฤษ หรือระบบประธานาธิบดีที่อเมริกา ก็มีการเดินขบวน ฝรั่งเศส กรีซ ก็มีการเดินขบวน แต่ที่สำคัญที่สุด ผมพอใจคือ การเดินขบวนครั้งนี้ปราศจากอาวุธ เสียงอาจจะมากไปในเรื่องของนกหวีด หรือ การเล่นระเริงดนตรีมากไป หรืออะไรต่างๆ แต่ผมมองว่าเป็นเรื่องปลีกย่อย ตราบใดที่เป็นการชุมนุมโดยสงบ ปราศจากอาวุธ แต่ผมก็ต้องชมรัฐบาลที่เขาพยายามไม่ทำอะไรที่เกินขอบเขต ดังนั้นโอกาสที่จะปะทะกันผมว่ามีน้อยกว่าที่คนคิด แต่แน่ล่ะ ถ้าเผื่อฟังวาทกรรมของแต่ละฝ่ายทั้งสองเวที หรือในรัฐสภา ความดุเดือด ความรุนแรงมันมีในทางภาษา ทางวาทกรรม ตรงนี้ยังมีความหวังว่าจะไม่นำไปสู่การแตกหักอย่างจริงจังที่มีการสู้รบกัน บนถนน ผมไม่คิดว่าน่าจะเป็นไปได้ยังมองโลกในแง่ดีอยู่ อ่านข่าวนี้ทั้งหมด คลิก… http://www.tddf.or.th/uploadedfiles/2013-11-29__295__.doc ขอบคุณ... http://www.komchadluek.net/detail/20131129/173830.html (ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 29 พ.ย.56)

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...