จี้ภาครัฐจัดทางเท้าปลอดภัย ลดสูญเสียเด็ก คนชราพิการ
ทุกคนสมควรไดเดินบนเสนทางที่ปลอดภัย และไมมีใครที่อยากเห็นการเจ็บ พิการ และตายจากการถูกรถชน ขณะที่ภาครัฐก็ไม่ได้ให้ความความปลอดภัยแก่ผูเดินเทาเท่าที่ควร โดยเฉพาะกลุมเด็กผูพิการ คนชรา อย่างเช่นหน่วยงานอย่าง กทม. เมื่อมีการชิงชัยของผู้ว่าฯ กทม.ทุกครั้ง ก็จะมีนโยบายกับเรื่องนี้ แต่อยากทราบว่าเมื่อได้รับตำแหน่งผู้ว่าฯ กทม.ไปแล้วจะมีการทำตามคำพูดหรือไม่ ง่ายๆ แค่การจัดการทางเท้าให้เพียงพอและปลอดภัย
Safe Kids Thailand ศูนยวิจัยเพื่อสรางเสริมความปลอดภัยและปองกันการบาดเจ็บในเด็ก คณะแพทยศาสตร รพ.รามาธิบดี รวมกับศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และเครือขายความปลอดภัยทางถนนและสื่อมวลชน โดยการสนับสนุนจากองค์การสหประชาชาติ และ FedEx จัดกิจกรรม “2554-2563 ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ขอเสนอทางเดินปลอดภัยให้เด็กๆ” เมื่อไม่นานมานี้ ณ สวนสราญรมย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ เพื่อรณรงค์ให้ทุกภาคส่วนของสังคม ให้ตระหนักและเห็นความสําคัญของความปลอดภัยในการเดินเท้าของเด็กๆ สอดรับกับนโยบายของ Decade of Action for Road Safety 2010-2020 และกระตุ้นให้ภาครัฐที่รับผิดชอบนโยบายความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย เกิดการขับเคลื่อนความปลอดภัยทางถนน เน้นกลุมเดินเท้าที่เป็นเด็ก รวมถึงผูพิการและคนชรา
เด็กทุกคนสมควรได้เดินบนเส้นทางที่ปลอดภัย ไม่มีพ่อแม่คนไหนอยากเห็นลูกตัวเองตายจากการถูกรถชน ไม่มีผู้ใหญ่คนไหนอยากเห็นเด็กๆ ตายจากการถูกรถทับ แต่จะมี “ผู้ใหญสักกี่คนที่ช่วยหยุดความสูญเสียอันใหญ่หลวงนี้”
ในแตละปี อุบัติเหตุทางถนนได้คร่าชีวิตเด็กไปไมต่ำกวา 133,000 คน ในทุก 3 นาที จะมีเด็ก 1 คนตายจากอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มเด็กเดินเท้า เป็นกลุมเสี่ยงสูงจากการถูกรถชนขณะเดินไปกลับบ้านและโรงเรียน ฟุตบาทหรือทางเท้าในเมืองไทย มีไว้ขายของ มีไว้ให้รถมอเตอรไซคขับ ไม่ได้มีไว้ให้คนเดิน
ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนเป็นปัญหาสําคัญที่ทุกประเทศ กําลังเผชิญอยู่และแนวโน้มมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บสูงขึ้น องค์การอนามัยโลกระบุวา ทุกปีมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนประมาณ 1.3 ล้านคน และในแต่ละปีอุบัติเหตุทางถนนได้คร่าชีวิตเด็กไปไม่ต่ำกวา 133,000 คน จากสภาพปัญหาดังกล่าว องค์การสหประชาชาติได้เรียกร้องให้ทุกประเทศให้ความสําคัญกับเรื่องความปลอดภัยทางถนนตามกรอบปฏิญญามอสโก จนนําไปสู่การ ประกาศให้ปี ค.ศ.2011-2020 (พ.ศ.2554-2563) เป็นทศวรรษแห่งการปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยทางถนน (Decade of Action for Road Safety) โดยมีเป้าหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนของทั้งโลกถึงร้อยละ 50 ในปี ค.ศ.2020 (พ.ศ.2563) ซึ่งในปี พ.ศ.2556 (ค.ศ.2013) องค์การสหประชาชาติได้ประกาศนโยบายเชิญชวนแต่ละประเทศจัดกิจกรรมรณรงค์ความ ปลอดภัยทางถนน ระหว่างวันที่ 6-12 พฤษภาคม 2556 ซึ่งปีนี้ได้เน้นไปที่ “ความปลอดภัยผู้เดินเท้า”สถานการณ์ปัญหาอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย พบเด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรใน 12 ปีที่ผานมา (2543-2554) จํานวน 7,836 คน เฉพาะในปี 2554 มีจํานวนรวมทั้งประเทศเท่ากับ 614 ราย กลุ่มเด็กเดินเท้าจัดเป็นกลุมเสี่ยงสูงจากการถูกรถชนขณะเดินไปกลับบ็านและโรงเรียน พบการตาย 15.71% (ประมาณการ 96 ราย) ในขณะที่อัตราการบาดเจ็บ 11.21% (ประมาณการ 2063 ราย) บนเส้นทางที่เด็กต้องเดินไปโรงเรียนหรือไป ตามที่ต่างๆ พบวามีความเสี่ยง เช่น สภาพถนน ทางเท้า และเครื่องอํานวยความปลอดภัยสําหรับผู้เดินเท้า ไม่เอื้ออํานวยให้เด็กเดินและข้ามถนนอยางปลอดภัย, มีบุคคลเสี่ยง เช่น ขี้เหล้า เมายา จี้ ปล้น และสุนัขจรจัดในระหว้างทางที่เด็กเดินและความเสี่ยงด้านพฤติกรรม เช่น ผู้ใหญ่มักประเมินความสามารถของเด็กสูงเกินไป เด็กอายุต่ำกวา 10 ปี ยังขาดความชํานาญและความสามารถในการใช้รถใช้ถนนอยางปลอดภัย, เด็กๆ อาจจะทําอะไรที่เราคาดไม่ถึง เช่น อยู่ๆ ก็วิ่งออกมาบนถนน วิ่งออกมาจากด้านหลังรถที่จอดอยู่ข้างทาง ฯลฯ การกระตุ้นครั้งนี้หวังว่า ภาครัฐที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ กทม. จะตื่นตัวและพร้อมขับเคลื่อนสร้างความปลอดภัยทางถนนและทางเท้าที่ปลอดภัย เพื่อลดปัญหาความสูญเสียแก่เด็กคนชราและผู้พิการ.
นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ รักษาการอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะฝ่ายเลขานุการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน กล่าวว่า ได้ร่วมกับเครือข่ายความปลอดภัยทางถนนทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร และมูลนิธิด้านความปลอดภัยทางถนนกว่า 60 หน่วยงาน อาทิ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ สมาคมผู้ประกอบการรถจักรยานยนต์ไทย มูลนิธิเมาไม่ขับ สำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ ฯลฯ ได้รวมพลังเครือข่ายขับเคลื่อนการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์" เพื่อลดปัญหาความสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนมาตลอด ทั้งการประกาศให้ความปลอดภัยทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ และการประกาศเจตนารมณ์ร่วมกับองค์การสหประชาชาติ กำหนดให้ปี 2554-2563 มีอัตราการตายไม่เกิน 10 คนต่อประชากร 1 แสนคน อีกทั้งการสวมหมวกนิรภัยพบว่าสามารถลดการบาดเจ็บและเสียชีวิตได้ถึง 57%
นาย วิบูลย์กล่าวต่อว่า ปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปีละ 11,048 คน ในจำนวนนี้ 70-80% หรือประมาณ 7,730-8,830 ราย เกิดจากการขับขี่และซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ และเฉลี่ยแล้วจะมีสถิติผู้เสียชีวิตประมาณชั่วโมงละ 1 คน นอกจากนี้ ยังมีผู้บาดเจ็บที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลปีละกว่า 1 แสนคน ในจำนวนผู้บาดเจ็บมีประมาณ 6% ที่กลายเป็นผู้พิการ หรือประมาณ 3,000-5,000 คนต่อปี
แสดงความคิดเห็น
รายละเอียดกระทู้
ทุกคนสมควรไดเดินบนเสนทางที่ปลอดภัย และไมมีใครที่อยากเห็นการเจ็บ พิการ และตายจากการถูกรถชน ขณะที่ภาครัฐก็ไม่ได้ให้ความความปลอดภัยแก่ผูเดินเทาเท่าที่ควร โดยเฉพาะกลุมเด็กผูพิการ คนชรา อย่างเช่นหน่วยงานอย่าง กทม. เมื่อมีการชิงชัยของผู้ว่าฯ กทม.ทุกครั้ง ก็จะมีนโยบายกับเรื่องนี้ แต่อยากทราบว่าเมื่อได้รับตำแหน่งผู้ว่าฯ กทม.ไปแล้วจะมีการทำตามคำพูดหรือไม่ ง่ายๆ แค่การจัดการทางเท้าให้เพียงพอและปลอดภัย Safe Kids Thailand ศูนยวิจัยเพื่อสรางเสริมความปลอดภัยและปองกันการบาดเจ็บในเด็ก คณะแพทยศาสตร รพ.รามาธิบดี รวมกับศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และเครือขายความปลอดภัยทางถนนและสื่อมวลชน โดยการสนับสนุนจากองค์การสหประชาชาติ และ FedEx จัดกิจกรรม “2554-2563 ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ขอเสนอทางเดินปลอดภัยให้เด็กๆ” เมื่อไม่นานมานี้ ณ สวนสราญรมย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ เพื่อรณรงค์ให้ทุกภาคส่วนของสังคม ให้ตระหนักและเห็นความสําคัญของความปลอดภัยในการเดินเท้าของเด็กๆ สอดรับกับนโยบายของ Decade of Action for Road Safety 2010-2020 และกระตุ้นให้ภาครัฐที่รับผิดชอบนโยบายความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย เกิดการขับเคลื่อนความปลอดภัยทางถนน เน้นกลุมเดินเท้าที่เป็นเด็ก รวมถึงผูพิการและคนชรา เด็กทุกคนสมควรได้เดินบนเส้นทางที่ปลอดภัย ไม่มีพ่อแม่คนไหนอยากเห็นลูกตัวเองตายจากการถูกรถชน ไม่มีผู้ใหญ่คนไหนอยากเห็นเด็กๆ ตายจากการถูกรถทับ แต่จะมี “ผู้ใหญสักกี่คนที่ช่วยหยุดความสูญเสียอันใหญ่หลวงนี้” ในแตละปี อุบัติเหตุทางถนนได้คร่าชีวิตเด็กไปไมต่ำกวา 133,000 คน ในทุก 3 นาที จะมีเด็ก 1 คนตายจากอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มเด็กเดินเท้า เป็นกลุมเสี่ยงสูงจากการถูกรถชนขณะเดินไปกลับบ้านและโรงเรียน ฟุตบาทหรือทางเท้าในเมืองไทย มีไว้ขายของ มีไว้ให้รถมอเตอรไซคขับ ไม่ได้มีไว้ให้คนเดิน ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนเป็นปัญหาสําคัญที่ทุกประเทศ กําลังเผชิญอยู่และแนวโน้มมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บสูงขึ้น องค์การอนามัยโลกระบุวา ทุกปีมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนประมาณ 1.3 ล้านคน และในแต่ละปีอุบัติเหตุทางถนนได้คร่าชีวิตเด็กไปไม่ต่ำกวา 133,000 คน จากสภาพปัญหาดังกล่าว องค์การสหประชาชาติได้เรียกร้องให้ทุกประเทศให้ความสําคัญกับเรื่องความปลอดภัยทางถนนตามกรอบปฏิญญามอสโก จนนําไปสู่การ ประกาศให้ปี ค.ศ.2011-2020 (พ.ศ.2554-2563) เป็นทศวรรษแห่งการปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยทางถนน (Decade of Action for Road Safety) โดยมีเป้าหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนของทั้งโลกถึงร้อยละ 50 ในปี ค.ศ.2020 (พ.ศ.2563) ซึ่งในปี พ.ศ.2556 (ค.ศ.2013) องค์การสหประชาชาติได้ประกาศนโยบายเชิญชวนแต่ละประเทศจัดกิจกรรมรณรงค์ความ ปลอดภัยทางถนน ระหว่างวันที่ 6-12 พฤษภาคม 2556 ซึ่งปีนี้ได้เน้นไปที่ “ความปลอดภัยผู้เดินเท้า”สถานการณ์ปัญหาอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย พบเด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรใน 12 ปีที่ผานมา (2543-2554) จํานวน 7,836 คน เฉพาะในปี 2554 มีจํานวนรวมทั้งประเทศเท่ากับ 614 ราย กลุ่มเด็กเดินเท้าจัดเป็นกลุมเสี่ยงสูงจากการถูกรถชนขณะเดินไปกลับบ็านและโรงเรียน พบการตาย 15.71% (ประมาณการ 96 ราย) ในขณะที่อัตราการบาดเจ็บ 11.21% (ประมาณการ 2063 ราย) บนเส้นทางที่เด็กต้องเดินไปโรงเรียนหรือไป ตามที่ต่างๆ พบวามีความเสี่ยง เช่น สภาพถนน ทางเท้า และเครื่องอํานวยความปลอดภัยสําหรับผู้เดินเท้า ไม่เอื้ออํานวยให้เด็กเดินและข้ามถนนอยางปลอดภัย, มีบุคคลเสี่ยง เช่น ขี้เหล้า เมายา จี้ ปล้น และสุนัขจรจัดในระหว้างทางที่เด็กเดินและความเสี่ยงด้านพฤติกรรม เช่น ผู้ใหญ่มักประเมินความสามารถของเด็กสูงเกินไป เด็กอายุต่ำกวา 10 ปี ยังขาดความชํานาญและความสามารถในการใช้รถใช้ถนนอยางปลอดภัย, เด็กๆ อาจจะทําอะไรที่เราคาดไม่ถึง เช่น อยู่ๆ ก็วิ่งออกมาบนถนน วิ่งออกมาจากด้านหลังรถที่จอดอยู่ข้างทาง ฯลฯ การกระตุ้นครั้งนี้หวังว่า ภาครัฐที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ กทม. จะตื่นตัวและพร้อมขับเคลื่อนสร้างความปลอดภัยทางถนนและทางเท้าที่ปลอดภัย เพื่อลดปัญหาความสูญเสียแก่เด็กคนชราและผู้พิการ. นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ รักษาการอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะฝ่ายเลขานุการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน กล่าวว่า ได้ร่วมกับเครือข่ายความปลอดภัยทางถนนทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร และมูลนิธิด้านความปลอดภัยทางถนนกว่า 60 หน่วยงาน อาทิ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ สมาคมผู้ประกอบการรถจักรยานยนต์ไทย มูลนิธิเมาไม่ขับ สำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ ฯลฯ ได้รวมพลังเครือข่ายขับเคลื่อนการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์" เพื่อลดปัญหาความสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนมาตลอด ทั้งการประกาศให้ความปลอดภัยทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ และการประกาศเจตนารมณ์ร่วมกับองค์การสหประชาชาติ กำหนดให้ปี 2554-2563 มีอัตราการตายไม่เกิน 10 คนต่อประชากร 1 แสนคน อีกทั้งการสวมหมวกนิรภัยพบว่าสามารถลดการบาดเจ็บและเสียชีวิตได้ถึง 57% นาย วิบูลย์กล่าวต่อว่า ปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปีละ 11,048 คน ในจำนวนนี้ 70-80% หรือประมาณ 7,730-8,830 ราย เกิดจากการขับขี่และซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ และเฉลี่ยแล้วจะมีสถิติผู้เสียชีวิตประมาณชั่วโมงละ 1 คน นอกจากนี้ ยังมีผู้บาดเจ็บที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลปีละกว่า 1 แสนคน ในจำนวนผู้บาดเจ็บมีประมาณ 6% ที่กลายเป็นผู้พิการ หรือประมาณ 3,000-5,000 คนต่อปี ขอบคุณ… http://www.thaipost.net/x-cite-kidz/010613/74345
จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย
รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)