สพฐ.กรุยทางตลาดแรงงานรองรับเด็กพิการ

แสดงความคิดเห็น

ตราสัญลักษณ์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

สพฐ.ขับเคลื่อน การจัดการศึกษาพิเศษ เดินหน้าทำวิจัย เพื่อศึกษาความพร้อมการสอนอาชีพในโรงเรียน เล็งหาเครือข่ายรองรับนักเรียนพิการ

ดร. กมล รอดคล้าย เลขาธิการ กพฐ. กล่าวว่า สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ตระหนักถึงการสร้างโอกาสที่เท่าเทียมทางการศึกษาในสังคมไทย จึงได้จัดการเรียนการสอนให้เด็กพิการทุกคนได้เรียนหนังสือ ตามวิธีการที่เหมาะสมตามความแตกต่างเป็นรายบุคคล เพื่อให้เด็กพิการมีทักษะ เจตคติ และองค์ความรู้ที่จะดำเนินชีวิตเป็นอิสระรวมทั้งมีอาชีพอิสระ หรืออาชีพรับจ้างต่าง ๆ ได้ เนื่องจากคนพิการที่เข้าเรียนในโรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะความพิการ จำนวน 46 โรงเรียน ใน 37 จังหวัด สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สพฐ. ถือเป็นคนพิการที่ผ่านกระบวนการคัดกรองที่จัดอยู่ในกลุ่มที่สามารถเรียนรู้ได้ ฝึกประสบการณ์ได้ แต่ต้องถูกวิธีและมีอุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์สถานที่ในการเรียนรู้ฝึกประสบการณ์ให้เสมือนจริงมากที่สุด

ดร. กมล กล่าวด้วยว่า ปัจจุบันการวิเคราะห์ วิจัย ในทักษะความรู้และเจตคติของเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ในด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน รูปแบบการดำรงชีวิต การสร้างอาชีพ และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ของนักเรียนว่าตรงกับความต้องการและบริบทของนักเรียนหรือไม่ อย่างไรถือว่ายังไม่ครอบคลุมโรงเรียนการศึกษาพิเศษในทุกแห่ง ดังนั้น สพฐ. จึงได้จัดทำงานวิจัยด้าน “การศึกษาปัจจัยความพร้อมด้านการจัดการศึกษาอาชีพให้กับโรงเรียนการศึกษาพิเศษตามนโยบายการสร้างโอกาสทางการศึกษา ในสังคมไทย” โดยได้ดำเนินการวิจัยกับโรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะความพิการ 46 โรง ใน 37 จังหวัด ซึ่งถือเป็นเด็กพิการที่ผ่านกระบวนการคัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มที่สามารถเรียนรู้ได้ ฝึกประสบการณ์ได้ ด้วยการเก็บข้อมูลการวิจัยจากนักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง รวมถึงประธานกรรมการสถานศึกษา เพื่อหาทางออกในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพให้แก่เด็กพิการ และนำผลที่ได้มายกร่างเสนองานวิจัยฉบับสมบูรณ์และจัดพิมพ์เป็นคู่มือการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพแก่โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ต่อไป สพฐ. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจากการดำเนินงานศึกษาปัจจัยความพร้อมด้านการจัดการศึกษาอาชีพให้กับโรงเรียนการศึกษาพิเศษตามนโยบายการสร้างโอกาสทางการศึกษาในสังคมไทย” ในครั้งนี้ จะทำให้ สพฐ.ได้มาซึ่งข้อมูลเชิงประจักษ์ในการกำหนดนโยบาย และปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนอาชีพให้กับเด็กพิการด้อยโอกาส ในโรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะความพิการได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ สพฐ. จะได้ดำเนินการจัดหาเครือข่ายหรือตลาดแรงงานเพื่อรองรับนักเรียนพิการที่จบชั้น ม.3 และ ม.6 เข้าทำงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และได้ค่าตอบแทนในอัตราที่เหมาะสมต่อไป...“เด็กพิการ ก็ทำงานได้ พร้อมอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและเท่าเทียม

ขอบคุณ... http://www.manager.co.th/Qol/ViewNews.aspx?NewsID=9580000074324 (ขนาดไฟล์: 164)

ที่มา: ASTVผู้จัดการออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย1ก.ค.58
วันที่โพสต์: 2/07/2558 เวลา 11:33:04 ดูภาพสไลด์โชว์ สพฐ.กรุยทางตลาดแรงงานรองรับเด็กพิการ

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ตราสัญลักษณ์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สพฐ.ขับเคลื่อน การจัดการศึกษาพิเศษ เดินหน้าทำวิจัย เพื่อศึกษาความพร้อมการสอนอาชีพในโรงเรียน เล็งหาเครือข่ายรองรับนักเรียนพิการ ดร. กมล รอดคล้าย เลขาธิการ กพฐ. กล่าวว่า สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ตระหนักถึงการสร้างโอกาสที่เท่าเทียมทางการศึกษาในสังคมไทย จึงได้จัดการเรียนการสอนให้เด็กพิการทุกคนได้เรียนหนังสือ ตามวิธีการที่เหมาะสมตามความแตกต่างเป็นรายบุคคล เพื่อให้เด็กพิการมีทักษะ เจตคติ และองค์ความรู้ที่จะดำเนินชีวิตเป็นอิสระรวมทั้งมีอาชีพอิสระ หรืออาชีพรับจ้างต่าง ๆ ได้ เนื่องจากคนพิการที่เข้าเรียนในโรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะความพิการ จำนวน 46 โรงเรียน ใน 37 จังหวัด สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สพฐ. ถือเป็นคนพิการที่ผ่านกระบวนการคัดกรองที่จัดอยู่ในกลุ่มที่สามารถเรียนรู้ได้ ฝึกประสบการณ์ได้ แต่ต้องถูกวิธีและมีอุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์สถานที่ในการเรียนรู้ฝึกประสบการณ์ให้เสมือนจริงมากที่สุด ดร. กมล กล่าวด้วยว่า ปัจจุบันการวิเคราะห์ วิจัย ในทักษะความรู้และเจตคติของเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ในด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน รูปแบบการดำรงชีวิต การสร้างอาชีพ และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ของนักเรียนว่าตรงกับความต้องการและบริบทของนักเรียนหรือไม่ อย่างไรถือว่ายังไม่ครอบคลุมโรงเรียนการศึกษาพิเศษในทุกแห่ง ดังนั้น สพฐ. จึงได้จัดทำงานวิจัยด้าน “การศึกษาปัจจัยความพร้อมด้านการจัดการศึกษาอาชีพให้กับโรงเรียนการศึกษาพิเศษตามนโยบายการสร้างโอกาสทางการศึกษา ในสังคมไทย” โดยได้ดำเนินการวิจัยกับโรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะความพิการ 46 โรง ใน 37 จังหวัด ซึ่งถือเป็นเด็กพิการที่ผ่านกระบวนการคัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มที่สามารถเรียนรู้ได้ ฝึกประสบการณ์ได้ ด้วยการเก็บข้อมูลการวิจัยจากนักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง รวมถึงประธานกรรมการสถานศึกษา เพื่อหาทางออกในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพให้แก่เด็กพิการ และนำผลที่ได้มายกร่างเสนองานวิจัยฉบับสมบูรณ์และจัดพิมพ์เป็นคู่มือการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพแก่โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ต่อไป สพฐ. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจากการดำเนินงานศึกษาปัจจัยความพร้อมด้านการจัดการศึกษาอาชีพให้กับโรงเรียนการศึกษาพิเศษตามนโยบายการสร้างโอกาสทางการศึกษาในสังคมไทย” ในครั้งนี้ จะทำให้ สพฐ.ได้มาซึ่งข้อมูลเชิงประจักษ์ในการกำหนดนโยบาย และปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนอาชีพให้กับเด็กพิการด้อยโอกาส ในโรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะความพิการได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ สพฐ. จะได้ดำเนินการจัดหาเครือข่ายหรือตลาดแรงงานเพื่อรองรับนักเรียนพิการที่จบชั้น ม.3 และ ม.6 เข้าทำงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และได้ค่าตอบแทนในอัตราที่เหมาะสมต่อไป...“เด็กพิการ ก็ทำงานได้ พร้อมอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและเท่าเทียม ขอบคุณ... http://www.manager.co.th/Qol/ViewNews.aspx?NewsID=9580000074324

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...