พฤติกรรมตีกัน เป็น" จิตเวช" ประเภทหนึ่ง

แสดงความคิดเห็น

นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รมว.ศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำยุทธศาสตร์เชิงรุก การป้องกันและแก้ปัญหาทะเลาะวิวาทของนักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษา ว่า ประเทศไทยยังขาดกำลังคนสายอาชีวศึกษาจำนวนมาก แต่ข่าวการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวะทำให้ผู้ปกครองลังเลที่จะส่ง บุตรหลานเข้ามาเรียนในสายอาชีพ เพราะฉะนั้นหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้ามาช่วยกันแก้ไขปัญหาเรื่องนี้กันอย่างจริงจัง โดยเฉพาะต้องมีการส่งสัญญาณให้เด็กรับรู้ว่า จะเกิดผลกระทบอะไรบ้างถ้าเจ้าตัวไปก่อเหตุทะเลาะวิวาท

" ได้เสนอให้ที่ประชุมได้พิจารณาด้วยว่า ในกรณีที่เด็กไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทอย่างรุนแรง เป็นไปได้หรือไม่ที่จะให้เด็กคนก่อเหตุออกจากโรงเรียน เพราะหากมีการดำเนินการจริงจังกับเด็กกลุ่มนี้ นักเรียนคนอื่นก็จะได้รับรู้ว่า ถ้าเด็กคนใดไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทก็จะไม่สามารถเรียนต่อในโรงเรียนแห่งนี้ต่อ ไปได้ จะได้ไม่เกิดการกระตุ้นให้เด็กคนอื่นไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทเลียนแบบตาม มีคนที่พร้อมจะเลียนแบบการกระทำที่ผิดๆ อยู่ ถ้าเด็กได้เห็นตัวอย่างว่าเมื่อไปก่อเหตุแล้วไม่มีอะไรเกิดขึ้นกับผู้กระทำผิด เด็กก็จะทำตาม แต่หากเด็กคนที่เป็นหัวโจกไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทแล้วไม่สามารถอยู่ในโรงเรียน แห่งนี้ได้ อย่างน้อยก็ปั่นหัวคนอื่นต่อไปไม่ได้ ทั้งนี้จะต้องจัดระบบการศึกษาในรูปแบบอื่นให้เด็กกลุ่มนี้ได้รับการศึกษาด้วย แต่จะต้องไม่ไปอยู่ในสังคมที่ทำให้คนอื่นได้กระทำการตามแบบอย่าง" นายพงศ์เทพ กล่าวและว่า อย่างไรก็ตามคาดว่าการระดมความคิดจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในครั้งนี้จะได้ ยุทธศาสตร์ที่จะนำไปแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทได้ โดยจะมีการนำยุทธศาสตร์ดังกล่าวเสนอต่อนายกรัฐมนตรีต่อไปด้วย

ขอบคุณ http://breakingnews.nationchannel.com/home/read.php?newsid=679676

ที่มา: เนชั่นแชลแนลออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 30 เม.ย.56
วันที่โพสต์: 30/04/2556 เวลา 03:12:13

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รมว.ศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำยุทธศาสตร์เชิงรุก การป้องกันและแก้ปัญหาทะเลาะวิวาทของนักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษา ว่า ประเทศไทยยังขาดกำลังคนสายอาชีวศึกษาจำนวนมาก แต่ข่าวการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวะทำให้ผู้ปกครองลังเลที่จะส่ง บุตรหลานเข้ามาเรียนในสายอาชีพ เพราะฉะนั้นหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้ามาช่วยกันแก้ไขปัญหาเรื่องนี้กันอย่างจริงจัง โดยเฉพาะต้องมีการส่งสัญญาณให้เด็กรับรู้ว่า จะเกิดผลกระทบอะไรบ้างถ้าเจ้าตัวไปก่อเหตุทะเลาะวิวาท " ได้เสนอให้ที่ประชุมได้พิจารณาด้วยว่า ในกรณีที่เด็กไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทอย่างรุนแรง เป็นไปได้หรือไม่ที่จะให้เด็กคนก่อเหตุออกจากโรงเรียน เพราะหากมีการดำเนินการจริงจังกับเด็กกลุ่มนี้ นักเรียนคนอื่นก็จะได้รับรู้ว่า ถ้าเด็กคนใดไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทก็จะไม่สามารถเรียนต่อในโรงเรียนแห่งนี้ต่อ ไปได้ จะได้ไม่เกิดการกระตุ้นให้เด็กคนอื่นไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทเลียนแบบตาม มีคนที่พร้อมจะเลียนแบบการกระทำที่ผิดๆ อยู่ ถ้าเด็กได้เห็นตัวอย่างว่าเมื่อไปก่อเหตุแล้วไม่มีอะไรเกิดขึ้นกับผู้กระทำผิด เด็กก็จะทำตาม แต่หากเด็กคนที่เป็นหัวโจกไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทแล้วไม่สามารถอยู่ในโรงเรียน แห่งนี้ได้ อย่างน้อยก็ปั่นหัวคนอื่นต่อไปไม่ได้ ทั้งนี้จะต้องจัดระบบการศึกษาในรูปแบบอื่นให้เด็กกลุ่มนี้ได้รับการศึกษาด้วย แต่จะต้องไม่ไปอยู่ในสังคมที่ทำให้คนอื่นได้กระทำการตามแบบอย่าง" นายพงศ์เทพ กล่าวและว่า อย่างไรก็ตามคาดว่าการระดมความคิดจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในครั้งนี้จะได้ ยุทธศาสตร์ที่จะนำไปแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทได้ โดยจะมีการนำยุทธศาสตร์ดังกล่าวเสนอต่อนายกรัฐมนตรีต่อไปด้วย ขอบคุณ… http://breakingnews.nationchannel.com/home/read.php?newsid=679676

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...