จ้ำม่ำเสี่ยงออทิซึม
แค ธรีน เอเบล จากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร ศึกษาข้อ มูลของทารกแรกเกิด 589,114 คน จนค้นพบว่า หนูน้อยจ้ำม่ำที่มีน้ำหนักแรกเกิดเกิน 4.5 กิโลกรัมขึ้นไป มีความเสี่ยงร้อยละ 60 ที่จะเป็น "โรคออทิซึม" หรือพัฒนาการทางสมองด้านการสื่อสารบกพร่อง มากกว่าทารกที่มีน้ำหนักในเกณฑ์ปกติ เฉลี่ยที่ 3.2 กิโลกรัม นอกจากนี้ เด็กที่มีอัตราการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนต่ำก็อยู่ในกลุ่มเสี่ยงเป็นออทิสติกมากถึงร้อยละ 63 สรุปได้ว่าคุณภาพชีวิตของตัวอ่อนทารกในช่วงตั้งครรภ์ เป็นสัญญาณเตือนล่วงหน้า เพื่อกระตุ้นให้มีการตรวจสอบ และป้องกันความผิดปกติของเด็กในภายหลังได้ อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยจากกรรมพันธุ์ และความแข็งแรงของพ่อแม่ ที่สำคัญอารมณ์ของคุณแม่ถือเป็นกุญแจหลัก ช่วยให้กระบวนการเติบโตของลูกอยู่ในภาวะปกติได้อย่างเห็นผล
แสดงความคิดเห็น
รายละเอียดกระทู้
เด็กทารกอยู่บนเครื่องชั่งน้ำหนัก แค ธรีน เอเบล จากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร ศึกษาข้อ มูลของทารกแรกเกิด 589,114 คน จนค้นพบว่า หนูน้อยจ้ำม่ำที่มีน้ำหนักแรกเกิดเกิน 4.5 กิโลกรัมขึ้นไป มีความเสี่ยงร้อยละ 60 ที่จะเป็น "โรคออทิซึม" หรือพัฒนาการทางสมองด้านการสื่อสารบกพร่อง มากกว่าทารกที่มีน้ำหนักในเกณฑ์ปกติ เฉลี่ยที่ 3.2 กิโลกรัม นอกจากนี้ เด็กที่มีอัตราการเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อนต่ำก็อยู่ในกลุ่มเสี่ยงเป็นออทิสติกมากถึงร้อยละ 63 สรุปได้ว่าคุณภาพชีวิตของตัวอ่อนทารกในช่วงตั้งครรภ์ เป็นสัญญาณเตือนล่วงหน้า เพื่อกระตุ้นให้มีการตรวจสอบ และป้องกันความผิดปกติของเด็กในภายหลังได้ อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยจากกรรมพันธุ์ และความแข็งแรงของพ่อแม่ ที่สำคัญอารมณ์ของคุณแม่ถือเป็นกุญแจหลัก ช่วยให้กระบวนการเติบโตของลูกอยู่ในภาวะปกติได้อย่างเห็นผล ขอบคุณ... http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURONWIzVXdOREV5TURVMU5nPT0=§ionid=TURNeE1RPT0=&day=TWpBeE15MHdOUzB4TWc9PQ==
จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย
รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)