ไทย หนุน “การพัฒนาดูแลเด็กออทิสติก”เข้าที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลก ครั้งที่ 66

แสดงความคิดเห็น

นายแพทย์ประดิษฐ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า ในการเดินทางไปร่วมประชุมสมัชชาอนามัยโลก ที่นครเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 20-22 พฤษภาคม 2556 ได้พบกับ Dr.A F M Ruhal HAQUE, Minister for Health and Family Welfare รัฐมนตรีสาธารณสุขบังคลาเทศ เพื่อหารือและขอบคุณกระทรวงสาธารณสุขไทยใน 3 เรื่องคือ 1.ขอบคุณไทยที่ให้การสนับสนุนในการเสนอร่างญัตติการดูแลเด็กออทิสซึมเข้าสู่ การพิจารณาของที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกในครั้งนี้ 2.ขอการสนับสนุนจากไทยในเรื่องการพัฒนาบุคลากร โดยบังคลาเทศจะจัดส่งบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขมาเรียนที่ประเทศไทย และ3.ขอให้ไทยสนับสนุนผู้สมัครจากบังคลาเทศ ที่จะลงเลือกตั้งในตำแหน่งผู้อำนวยการภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้(Regional Director) ซึ่งตำแหน่งจะว่างลงในปีนี้

นายแพทย์ประดิษฐกล่าวต่อว่า ในเรื่องการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้มอบนโยบายให้กระทรวงสาธารณสุขและโรงเรียนแพทย์ร่วมกันพัฒนาให้เป็นศูนย์การฝึกอบรมนานาชาติ โดยจะมีการปรับปรุงหลักสูตรต่างๆ ใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการสอนเป็นหลัก รวมทั้งมีการหารือเรื่องการออกใบอนุญาตให้แพทย์พยาบาลสามารถปฏิบัติวิชาชีพ ได้ชั่วคราวระหว่างที่มาเรียน ส่วนเรื่องการที่บังคลาเทศขอให้ไทยสนับสนุนผู้สมัครจากบังคลาเทศลงเลือกตั้ง ในตำแหน่งผู้อำนวยการภูมิภาคนั้น จะนำข้อเสนอไปพิจารณาร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศอย่างดีที่สุด

ทั้งนี้ รัฐมนตรีสาธารณสุขบังคลาเทศ ได้ขอบคุณกระทรวงสาธารณสุขไทยที่ให้การสนับสนุนการเสนอร่างญัตติการดูแลเด็ก ออทิสติก (Autistic) เข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกในครั้งนี้ ซึ่งเรื่องการดูแลเด็กออทิสติกนี้ กระทรวงสาธารณสุขไทยให้ความสำคัญเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นเรื่องที่ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดีทรงให้ความสนใจเป็นพิเศษ และขณะนี้กระทรวงสาธารณสุขไทยกำลังพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กออทิสติกในชุมชน เนื่องจากไทยมีเด็กอยู่ในชุมชนประมาณ 2-3 แสนคน และถูกมองว่าเป็นเด็กดื้อเด็กซน และยังไม่ได้รับการวินิจฉัย จึงต้องเร่งพัฒนาเครื่องมือตรวจคัดกรองให้มีประสิทธิภาพ และรูปแบบการดูแลเด็กออทิสติกด้วยกิจกรรมบำบัดที่เหมาะสม

นายแพทย์ประดิษฐกล่าวอีกว่า โรคออทิสติก มีสาเหตุเกิดจากความผิดปกติของพัฒนาการทางสมองที่ล่าช้า 3 ด้านคือด้านสังคม ภาษาและพฤติกรรม พบตั้งแต่กำเนิด และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั่วโลก แต่ปัญหาใหญ่คือประชาชนยังเข้าใจเรื่องนี้น้อย เนื่องจากเด็กสื่อสารไม่ได้จึงเลี้ยงดูกันเองไม่พาไปพบแพทย์ ซึ่งโรคนี้สามารถรักษาได้หากพบตั้งแต่ช่วง 2 ปีแรก แต่ปัญหาที่ผ่านมาพบว่าเด็กกลุ่มนี้ยังเข้าถึงบริการได้น้อย หากญัตติการแก้ไขเด็กออทิสติกขององค์การอนามัยโลกประสบผลสำเร็จ จะช่วยให้เด็กที่มีปัญหาได้รับการดูแลตั้งแต่ต้นและมีโอกาสหายเป็นปกติ เรียนหนังสือได้ ซึ่งที่ผ่านมามีเด็กออทิสติกประสบผลสำเร็จเป็นแพทย์ วิศวกรและมีอยู่ในเกือบทุกวิชาชีพ

ขอบคุณ http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=184110:----66-&catid=176:2009-06-25-09-26-02&Itemid=524

ที่มา: ฐานเศรษฐกิจออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 23 พ.ค.56
วันที่โพสต์: 24/05/2556 เวลา 03:51:01

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

นายแพทย์ประดิษฐ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า ในการเดินทางไปร่วมประชุมสมัชชาอนามัยโลก ที่นครเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 20-22 พฤษภาคม 2556 ได้พบกับ Dr.A F M Ruhal HAQUE, Minister for Health and Family Welfare รัฐมนตรีสาธารณสุขบังคลาเทศ เพื่อหารือและขอบคุณกระทรวงสาธารณสุขไทยใน 3 เรื่องคือ 1.ขอบคุณไทยที่ให้การสนับสนุนในการเสนอร่างญัตติการดูแลเด็กออทิสซึมเข้าสู่ การพิจารณาของที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกในครั้งนี้ 2.ขอการสนับสนุนจากไทยในเรื่องการพัฒนาบุคลากร โดยบังคลาเทศจะจัดส่งบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขมาเรียนที่ประเทศไทย และ3.ขอให้ไทยสนับสนุนผู้สมัครจากบังคลาเทศ ที่จะลงเลือกตั้งในตำแหน่งผู้อำนวยการภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้(Regional Director) ซึ่งตำแหน่งจะว่างลงในปีนี้ นายแพทย์ประดิษฐกล่าวต่อว่า ในเรื่องการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้มอบนโยบายให้กระทรวงสาธารณสุขและโรงเรียนแพทย์ร่วมกันพัฒนาให้เป็นศูนย์การฝึกอบรมนานาชาติ โดยจะมีการปรับปรุงหลักสูตรต่างๆ ใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการสอนเป็นหลัก รวมทั้งมีการหารือเรื่องการออกใบอนุญาตให้แพทย์พยาบาลสามารถปฏิบัติวิชาชีพ ได้ชั่วคราวระหว่างที่มาเรียน ส่วนเรื่องการที่บังคลาเทศขอให้ไทยสนับสนุนผู้สมัครจากบังคลาเทศลงเลือกตั้ง ในตำแหน่งผู้อำนวยการภูมิภาคนั้น จะนำข้อเสนอไปพิจารณาร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศอย่างดีที่สุด ทั้งนี้ รัฐมนตรีสาธารณสุขบังคลาเทศ ได้ขอบคุณกระทรวงสาธารณสุขไทยที่ให้การสนับสนุนการเสนอร่างญัตติการดูแลเด็ก ออทิสติก (Autistic) เข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกในครั้งนี้ ซึ่งเรื่องการดูแลเด็กออทิสติกนี้ กระทรวงสาธารณสุขไทยให้ความสำคัญเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นเรื่องที่ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดีทรงให้ความสนใจเป็นพิเศษ และขณะนี้กระทรวงสาธารณสุขไทยกำลังพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กออทิสติกในชุมชน เนื่องจากไทยมีเด็กอยู่ในชุมชนประมาณ 2-3 แสนคน และถูกมองว่าเป็นเด็กดื้อเด็กซน และยังไม่ได้รับการวินิจฉัย จึงต้องเร่งพัฒนาเครื่องมือตรวจคัดกรองให้มีประสิทธิภาพ และรูปแบบการดูแลเด็กออทิสติกด้วยกิจกรรมบำบัดที่เหมาะสม นายแพทย์ประดิษฐกล่าวอีกว่า โรคออทิสติก มีสาเหตุเกิดจากความผิดปกติของพัฒนาการทางสมองที่ล่าช้า 3 ด้านคือด้านสังคม ภาษาและพฤติกรรม พบตั้งแต่กำเนิด และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั่วโลก แต่ปัญหาใหญ่คือประชาชนยังเข้าใจเรื่องนี้น้อย เนื่องจากเด็กสื่อสารไม่ได้จึงเลี้ยงดูกันเองไม่พาไปพบแพทย์ ซึ่งโรคนี้สามารถรักษาได้หากพบตั้งแต่ช่วง 2 ปีแรก แต่ปัญหาที่ผ่านมาพบว่าเด็กกลุ่มนี้ยังเข้าถึงบริการได้น้อย หากญัตติการแก้ไขเด็กออทิสติกขององค์การอนามัยโลกประสบผลสำเร็จ จะช่วยให้เด็กที่มีปัญหาได้รับการดูแลตั้งแต่ต้นและมีโอกาสหายเป็นปกติ เรียนหนังสือได้ ซึ่งที่ผ่านมามีเด็กออทิสติกประสบผลสำเร็จเป็นแพทย์ วิศวกรและมีอยู่ในเกือบทุกวิชาชีพ ขอบคุณ… http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=184110:----66-&catid=176:2009-06-25-09-26-02&Itemid=524

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...