วัคซีนไอกรนไร้เซลล์ พัฒนาเทคโนโลยีต้นน้ำ

แสดงความคิดเห็น

ภายในห้องวิจัยยา

ความมั่นคงของประเทศเป็นเรื่องสำคัญ โดยความมั่นคงนั้นมีหลายประเภท หนึ่งในนั้นคือ ยาและวัคซีนเทคโนโลยี ในการผลิตวัคซีนถือเป็นเทคโนโลยีที่ยากและต้องใช้องค์ความรู้ขั้นสูง โดยปัจจุบันในประเทศไทยมีบริษัทองค์การเภสัชกรรม-เมอร์ริเออร์ชีววัตถุ ซึ่งถือเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างองค์การเภสัชกรรม (อภ.) กระทรวงสาธารณสุข บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด และบริษัทซาโนฟี่ ปาสเตอร์ เพื่อพัฒนาการผลิตวัคซีนให้เป็นรากฐานของการสร้างความมั่นคงด้านสาธารณสุข ซึ่งได้ผลิตวัคซีนมาตั้งแต่ปี 2544 ถึงปัจจุบัน

ผลิตภัณฑ์ หลักที่บริษัทร่วมทุนฯ สามารถผลิตและจำหน่ายในประเทศไทย คือ วัคซีนป้องกันตับอักเสบเอ พิษสุนัขบ้า ไทฟอยด์ ไข้เหลือง ไข้สมองอักเสบอี ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล วัคซีนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ตับอักเสบบี โปลิโอ คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก เป็นต้น โดยมีกำลังการผลิตกว่า 20 ล้านโด๊สต่อปี

ภก.สมชาย ศรีชัยนาค รอง ผอ.อภ. จุดยืนที่สำคัญ ภก.สมชาย ศรีชัยนาค รอง ผอ.อภ. อธิบายว่า การสร้างขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองเป็นเรื่องจำเป็น การดำเนินงานของบริษัทร่วมทุนฯ ถือเป็นจุดเริ่มต้นการพัฒนาคนและสะสมองค์ความรู้ จนผลิตวัคซีน โดยการนำตัวยาสำคัญมาบรรจุเพื่อใช้ในประเทศและเริ่มส่งออก และในอนาคตจะเริ่มพัฒนาวัคซีนตั้งแต่ต้นน้ำ คือ การเพาะหัวเชื้อ จนนำมาทำเป็นตัวยาสำคัญและผลิตเป็นวัคซีนต่อไป

แผนในช่วงต่อไปของบริษัทร่วมทุนฯ ที่น่าสนใจ คือ การพัฒนากระบวนการผลิตวัคซีนตั้งแต่ต้นน้ำ และการพัฒนาวัคซีนรวม DTap-HepB หรือคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบบี โดยเฉพาะไอกรน จะพัฒนาให้เป็นแบบไร้เซลล์ คือการทำให้วัคซีนมีความบริสุทธิ์มากขึ้นโดยใช้วิธีการตัดต่อพันธุกรรมเลือก เอาเฉพาะแอนติเจนที่บริสุทธิ์จากเดิมที่มักเกิดอาการข้างเคียงขึ้น

ปัจจุบันการพัฒนาวัคซีนของบริษัทร่วมทุนฯ ยังทำโครงการพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจ อีรุ่นใหม่ ซึ่งผ่านกระบวนการทดลองทางคลินิกจนผลิตได้ในเชิงอุตสาหกรรม และได้รับอนุมัติทะเบียนตำรับวัคซีนใหม่ที่ประเทศออสเตรเลียสำเร็จ มีแผนในการขออนุมัติทะเบียนในอีกหลายประเทศ รวมทั้งองค์การอนามัยโลกและยูนิเซฟที่จะเป็นช่องทางส่งออกอีก8-9ประเทศ

แม้ปัจจุบันการผลิตยังเป็นการนำตัวยาสำคัญมาผสมและบรรจุ แต่ขั้นตอนนี้ถือเป็นขั้นตอนสำคัญไม่แพ้การเพาะหัวเชื้อ เพราะกระบวนการผลิตกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ มักจะล้มเหลวในขั้นตอนการบรรจุได้ ที่สำคัญคือ วัคซีนที่ผลิตออกมาต้องได้คุณภาพ 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งโรงงานแห่งนี้ถือว่ามีมาตรฐานสูงได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลก การป้องกันถือเป็นเกราะสำคัญที่จะรับมือความเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้

ขอบคุณ... http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROb1pXRXdOVEExTVRFMU5nPT0=&sectionid=TURNek1BPT0=&day=TWpBeE15MHhNUzB3TlE9PQ== (ขนาดไฟล์: 167)

(ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 5 พ.ย.56)

ที่มา: ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 5 พ.ย.56
วันที่โพสต์: 6/11/2556 เวลา 03:37:19 ดูภาพสไลด์โชว์ วัคซีนไอกรนไร้เซลล์ พัฒนาเทคโนโลยีต้นน้ำ

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ภายในห้องวิจัยยา ความมั่นคงของประเทศเป็นเรื่องสำคัญ โดยความมั่นคงนั้นมีหลายประเภท หนึ่งในนั้นคือ ยาและวัคซีนเทคโนโลยี ในการผลิตวัคซีนถือเป็นเทคโนโลยีที่ยากและต้องใช้องค์ความรู้ขั้นสูง โดยปัจจุบันในประเทศไทยมีบริษัทองค์การเภสัชกรรม-เมอร์ริเออร์ชีววัตถุ ซึ่งถือเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างองค์การเภสัชกรรม (อภ.) กระทรวงสาธารณสุข บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด และบริษัทซาโนฟี่ ปาสเตอร์ เพื่อพัฒนาการผลิตวัคซีนให้เป็นรากฐานของการสร้างความมั่นคงด้านสาธารณสุข ซึ่งได้ผลิตวัคซีนมาตั้งแต่ปี 2544 ถึงปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ หลักที่บริษัทร่วมทุนฯ สามารถผลิตและจำหน่ายในประเทศไทย คือ วัคซีนป้องกันตับอักเสบเอ พิษสุนัขบ้า ไทฟอยด์ ไข้เหลือง ไข้สมองอักเสบอี ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล วัคซีนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ตับอักเสบบี โปลิโอ คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก เป็นต้น โดยมีกำลังการผลิตกว่า 20 ล้านโด๊สต่อปี ภก.สมชาย ศรีชัยนาค รอง ผอ.อภ. จุดยืนที่สำคัญ ภก.สมชาย ศรีชัยนาค รอง ผอ.อภ. อธิบายว่า การสร้างขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองเป็นเรื่องจำเป็น การดำเนินงานของบริษัทร่วมทุนฯ ถือเป็นจุดเริ่มต้นการพัฒนาคนและสะสมองค์ความรู้ จนผลิตวัคซีน โดยการนำตัวยาสำคัญมาบรรจุเพื่อใช้ในประเทศและเริ่มส่งออก และในอนาคตจะเริ่มพัฒนาวัคซีนตั้งแต่ต้นน้ำ คือ การเพาะหัวเชื้อ จนนำมาทำเป็นตัวยาสำคัญและผลิตเป็นวัคซีนต่อไป แผนในช่วงต่อไปของบริษัทร่วมทุนฯ ที่น่าสนใจ คือ การพัฒนากระบวนการผลิตวัคซีนตั้งแต่ต้นน้ำ และการพัฒนาวัคซีนรวม DTap-HepB หรือคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบบี โดยเฉพาะไอกรน จะพัฒนาให้เป็นแบบไร้เซลล์ คือการทำให้วัคซีนมีความบริสุทธิ์มากขึ้นโดยใช้วิธีการตัดต่อพันธุกรรมเลือก เอาเฉพาะแอนติเจนที่บริสุทธิ์จากเดิมที่มักเกิดอาการข้างเคียงขึ้น ปัจจุบันการพัฒนาวัคซีนของบริษัทร่วมทุนฯ ยังทำโครงการพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจ อีรุ่นใหม่ ซึ่งผ่านกระบวนการทดลองทางคลินิกจนผลิตได้ในเชิงอุตสาหกรรม และได้รับอนุมัติทะเบียนตำรับวัคซีนใหม่ที่ประเทศออสเตรเลียสำเร็จ มีแผนในการขออนุมัติทะเบียนในอีกหลายประเทศ รวมทั้งองค์การอนามัยโลกและยูนิเซฟที่จะเป็นช่องทางส่งออกอีก8-9ประเทศ แม้ปัจจุบันการผลิตยังเป็นการนำตัวยาสำคัญมาผสมและบรรจุ แต่ขั้นตอนนี้ถือเป็นขั้นตอนสำคัญไม่แพ้การเพาะหัวเชื้อ เพราะกระบวนการผลิตกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ มักจะล้มเหลวในขั้นตอนการบรรจุได้ ที่สำคัญคือ วัคซีนที่ผลิตออกมาต้องได้คุณภาพ 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งโรงงานแห่งนี้ถือว่ามีมาตรฐานสูงได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลก การป้องกันถือเป็นเกราะสำคัญที่จะรับมือความเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ ขอบคุณ... http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROb1pXRXdOVEExTVRFMU5nPT0=§ionid=TURNek1BPT0=&day=TWpBeE15MHhNUzB3TlE9PQ== (ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 5 พ.ย.56)

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...