ให้ตีความ "คนแก่" เข้าความเป็นจริง

แสดงความคิดเห็น

สองตายาย

วารสารทบทวนการประชากรและพัฒนาของสหรัฐฯแจ้งว่า ได้มีการศึกษาที่ดูเหมือนเป็นการบุกเบิกขึ้นใหม่ ให้มีการปรับปรุงวิธีการด้านประชากรศาสตร์ ในการศึกษาเรื่องความแก่ชราของประชากรเสียใหม่เพื่อจะได้เข้าใจผลกระทบของประชากรผู้สูงอายุต่อสังคมกันให้มากขึ้น

ตั้งแต่ ไหนแต่ไรมา การศึกษาในด้านนี้ มักใช้ลักษณะเฉพาะของคนแต่เพียงแค่อย่างเดียว นั่นคือ อายุตามปฏิทิน แต่ในการศึกษาใหม่นี้ ได้เสนอกรอบของการวัดอายุตามลักษณะเฉพาะของคนที่ผันแปรไปตามอายุแทน อันได้แก่ อายุคาดเฉลี่ยความสามารถทางสติปัญญาและอื่นๆ วิธีใหม่นี้จะช่วยให้นักประชากรศาสตร์เข้าใจสังคมของผู้สูงอายุมากขึ้น

นักวิจัยในคณะผู้หนึ่งกล่าวว่า อายุที่แท้จริงของคนเรา ไม่ได้เท่ากับจำนวนปีที่มีชีวิตอยู่และเสริมว่ามันควรต้องคำนึงถึงลักษณะ เฉพาะที่เปลี่ยนแปรไปต่างๆ เช่น สุขภาพ ความสามารถทางสติปัญญา และอัตราความพิการด้วย เท่าที่เป็นมา นักประชากรศาสตร์คิดแต่อายุครอบคลุมหมด แต่ที่จริงแล้ว เมื่ออายุคาดเฉลี่ยทอดนานขึ้น อายุเดิมก็ไม่เข้ากันกับระดับสุขภาพ และลักษณะเฉพาะต่างๆอีกต่อไป

“อย่างเช่น เราเคยถือว่าผู้ที่มีอายุ 65 ปีเป็นคนแก่ แต่ทุกวันนี้ผู้มีอายุ 65 ปีบางคนมีลักษณะเฉพาะที่สำคัญต่างๆ ดูเหมือนคนอายุแค่ 55 ปีเท่านั้น” เขากล่าว.

ขอบคุณ... http://m.thairath.co.th/content/edu/390171

(ไทยรัฐออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 18 ธ.ค.56)

ที่มา: ไทยรัฐออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 18 ธ.ค.56
วันที่โพสต์: 19/12/2556 เวลา 04:59:44 ดูภาพสไลด์โชว์ ให้ตีความ "คนแก่" เข้าความเป็นจริง

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

สองตายาย วารสารทบทวนการประชากรและพัฒนาของสหรัฐฯแจ้งว่า ได้มีการศึกษาที่ดูเหมือนเป็นการบุกเบิกขึ้นใหม่ ให้มีการปรับปรุงวิธีการด้านประชากรศาสตร์ ในการศึกษาเรื่องความแก่ชราของประชากรเสียใหม่เพื่อจะได้เข้าใจผลกระทบของประชากรผู้สูงอายุต่อสังคมกันให้มากขึ้น ตั้งแต่ ไหนแต่ไรมา การศึกษาในด้านนี้ มักใช้ลักษณะเฉพาะของคนแต่เพียงแค่อย่างเดียว นั่นคือ อายุตามปฏิทิน แต่ในการศึกษาใหม่นี้ ได้เสนอกรอบของการวัดอายุตามลักษณะเฉพาะของคนที่ผันแปรไปตามอายุแทน อันได้แก่ อายุคาดเฉลี่ยความสามารถทางสติปัญญาและอื่นๆ วิธีใหม่นี้จะช่วยให้นักประชากรศาสตร์เข้าใจสังคมของผู้สูงอายุมากขึ้น นักวิจัยในคณะผู้หนึ่งกล่าวว่า อายุที่แท้จริงของคนเรา ไม่ได้เท่ากับจำนวนปีที่มีชีวิตอยู่และเสริมว่ามันควรต้องคำนึงถึงลักษณะ เฉพาะที่เปลี่ยนแปรไปต่างๆ เช่น สุขภาพ ความสามารถทางสติปัญญา และอัตราความพิการด้วย เท่าที่เป็นมา นักประชากรศาสตร์คิดแต่อายุครอบคลุมหมด แต่ที่จริงแล้ว เมื่ออายุคาดเฉลี่ยทอดนานขึ้น อายุเดิมก็ไม่เข้ากันกับระดับสุขภาพ และลักษณะเฉพาะต่างๆอีกต่อไป “อย่างเช่น เราเคยถือว่าผู้ที่มีอายุ 65 ปีเป็นคนแก่ แต่ทุกวันนี้ผู้มีอายุ 65 ปีบางคนมีลักษณะเฉพาะที่สำคัญต่างๆ ดูเหมือนคนอายุแค่ 55 ปีเท่านั้น” เขากล่าว. ขอบคุณ... http://m.thairath.co.th/content/edu/390171 (ไทยรัฐออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 18 ธ.ค.56)

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...