แผนที่อารมณ์
คอลัมน์ เจ๊าะแจ๊ะวิทยาศาสตร์ : ลอรี นุมเมนมา จากมหาวิทยาลัยอัลโต ประเทศฟินแลนด์ ถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์จับอุณหภูมิของร่างกายในห้วงอารมณ์ต่างๆ 13 อารมณ์ ทั้งโกรธ กลัว ขยะแขยง มีความสุข เศร้า ประหลาดใจ ตื่นเต้น และรัก จนพบว่า ความรู้สึกที่เดิมเคยเชื่อว่าเป็นสิ่งซึ่งเกิดขึ้นในความคิดเท่านั้น แท้ที่จริงแล้วร่างกายมนุษย์มีการปรับอุณหภูมิให้เปลี่ยนไปตามความรู้สึก โดยบริเวณที่มีอุณหภูมิอบอุ่นหมายถึงรับรู้ได้ถึงความรู้สึกนั้นๆและในทางตรงกันข้ามบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าคือรับรู้ความรู้สึกได้น้อยกว่า
ตัวอย่างเช่น เวลาโกรธใคร เรามักจะรู้สึกร้อนผ่าวที่ใบหน้า ซึ่งจากการตรวจจับอุณหภูมิจะเห็นได้ว่าร่างกายส่วนบนแขน ใบหน้า และศีรษะมีอุณหภูมิสูงขึ้นจริง ขณะที่เวลามีความสุข แม้อุณหภูมิจะสูงขึ้นในบริเวณเดียวกับตอนโกรธ แต่เป็นอุณหภูมิในช่วงอบอุ่นเหมือนที่เรารู้สึกเมื่อมีความสุขนั่นเอง
ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 15 ม.ค.57
แสดงความคิดเห็น
รายละเอียดกระทู้
แผนที่อารมณ์ คอลัมน์ เจ๊าะแจ๊ะวิทยาศาสตร์ : ลอรี นุมเมนมา จากมหาวิทยาลัยอัลโต ประเทศฟินแลนด์ ถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์จับอุณหภูมิของร่างกายในห้วงอารมณ์ต่างๆ 13 อารมณ์ ทั้งโกรธ กลัว ขยะแขยง มีความสุข เศร้า ประหลาดใจ ตื่นเต้น และรัก จนพบว่า ความรู้สึกที่เดิมเคยเชื่อว่าเป็นสิ่งซึ่งเกิดขึ้นในความคิดเท่านั้น แท้ที่จริงแล้วร่างกายมนุษย์มีการปรับอุณหภูมิให้เปลี่ยนไปตามความรู้สึก โดยบริเวณที่มีอุณหภูมิอบอุ่นหมายถึงรับรู้ได้ถึงความรู้สึกนั้นๆและในทางตรงกันข้ามบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าคือรับรู้ความรู้สึกได้น้อยกว่า ตัวอย่างเช่น เวลาโกรธใคร เรามักจะรู้สึกร้อนผ่าวที่ใบหน้า ซึ่งจากการตรวจจับอุณหภูมิจะเห็นได้ว่าร่างกายส่วนบนแขน ใบหน้า และศีรษะมีอุณหภูมิสูงขึ้นจริง ขณะที่เวลามีความสุข แม้อุณหภูมิจะสูงขึ้นในบริเวณเดียวกับตอนโกรธ แต่เป็นอุณหภูมิในช่วงอบอุ่นเหมือนที่เรารู้สึกเมื่อมีความสุขนั่นเอง ขอบคุณ... http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURONWIzVXdOVEUxTURFMU53PT0=§ionid=TURNeE1RPT0=&day=TWpBeE5DMHdNUzB4TlE9PQ== ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 15 ม.ค.57
จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย
รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)