คุณค่าของหลักมัชฌิมาปฏิปทาต่อมวลมนุษยชาติ

แสดงความคิดเห็น

เนื้อหาบางส่วน

By อัญชลี on January 5, 2013

มัชฌิมาปฏิปทาในทางพุทธศาสนาหมายถึงทางสายกลาง คือ การไม่ยึดถือสุดทางทั้ง ๒ ได้แก่ อัตตกิลมถานุโยค คือ การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป และ กามสุขัลลิกานุโยค คือ การพัวพันในกามในความสบาย เป็นหลักคำสอนที่ปรากฏในพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกของพระพุทธเจ้าที่ทรงแสดงแก่ ปัญจวัคคีย์ คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แนวคิดและความหมายของมัชฌิมาปฏิปทาคือข้อปฏิบัติที่เป็นกลางๆ เพื่อให้ถึงความดับทุกข์ด้วยปัญญา คือการดำเนินชีวิตที่ดีเพื่อกำหนดรู้ทุกข์และปัญหาแห่งทุกข์ พระพุทธองเจ้าได้ทรงกำหนดหลักทางสายกลางนี้ไว้อย่างชัดเจน คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ เมื่อย่นย่อแล้ว เรียกว่า “ไตรสิกขา” ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา มัชฌิมาปฏิปทา คือ มรรค ๘ มีองค์ประกอบดังนี้

๑.สัมมาทิฏฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมายถึง การปฏิบัติอย่างเหมาะสมตามความเป็นจริงด้วยปัญญา ๒. สัมมาสังกัปปะ คือ ดำริชอบ หมายถึง การใช้สมองความคิดพิจารณาแต่ในทางกุศลหรือความดีงาม

ดาวน์โหลดเอกสาร คุณค่าของหลักมัชฌิมาปฏิปทาต่อมวลมนุษยชาติ

ที่มา: อีเมล์ส่งต่อ
วันที่โพสต์: 9/03/2557 เวลา 02:56:09

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

เนื้อหาบางส่วน By อัญชลี on January 5, 2013 มัชฌิมาปฏิปทาในทางพุทธศาสนาหมายถึงทางสายกลาง คือ การไม่ยึดถือสุดทางทั้ง ๒ ได้แก่ อัตตกิลมถานุโยค คือ การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป และ กามสุขัลลิกานุโยค คือ การพัวพันในกามในความสบาย เป็นหลักคำสอนที่ปรากฏในพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกของพระพุทธเจ้าที่ทรงแสดงแก่ ปัญจวัคคีย์ คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แนวคิดและความหมายของมัชฌิมาปฏิปทาคือข้อปฏิบัติที่เป็นกลางๆ เพื่อให้ถึงความดับทุกข์ด้วยปัญญา คือการดำเนินชีวิตที่ดีเพื่อกำหนดรู้ทุกข์และปัญหาแห่งทุกข์ พระพุทธองเจ้าได้ทรงกำหนดหลักทางสายกลางนี้ไว้อย่างชัดเจน คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ เมื่อย่นย่อแล้ว เรียกว่า “ไตรสิกขา” ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา มัชฌิมาปฏิปทา คือ มรรค ๘ มีองค์ประกอบดังนี้ ๑.สัมมาทิฏฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมายถึง การปฏิบัติอย่างเหมาะสมตามความเป็นจริงด้วยปัญญา ๒. สัมมาสังกัปปะ คือ ดำริชอบ หมายถึง การใช้สมองความคิดพิจารณาแต่ในทางกุศลหรือความดีงาม ดาวน์โหลดเอกสาร

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...

ค้นหาข้อมูลในห้องสมุด