ภาวะ “ถูกจูงใจให้ตาบอด” กับจรรยาบรรณวิชาชีพ (2) : จรรยาบรรณที่ได้ผล

แสดงความคิดเห็น

เนื้อหาบางส่วน

ตอนที่แล้วผู้เขียนพูดถึงภาวะ “ถูงจูงใจให้ตาบอด” (motivated blindness) ว่าเป็นส่วนสำคัญของการทำผิดจรรยาบรรณวิชาชีพในชีวิตประจำวัน อย่างเช่นการเอาเปรียบลูกค้าเล็กๆ น้อยๆ หรือแอบคิดสตางค์บริษัทโดยไม่สมควร ซึ่งมีโอกาสลุกลามเป็นการทุจริตคอร์รัปชันขนาดใหญ่ ถ้าเราไม่ลงมือเองก็สุ่มเสี่ยงจะ “เอาหูไปนา เอาตาไปไร่” เวลาที่เห็นคนอื่นทำผิด

ภาวะ “ถูกจูงใจให้ตาบอด” หมายถึงแนวโน้มที่เราจะหาเหตุผลมาเข้าข้างตัวเองโดยอัตโนมัติในหัวเวลาทำในสิ่งที่ตงิดๆ ว่าไม่ควรทำ เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีขึ้น งานวิจัยด้านจิตวิทยาและเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมมากมายยืนยันว่าเราถูกจูงใจให้ ตาบอดเป็นปกติ แม้แต่คนที่คนอื่นมองว่า “ซื่อสัตย์” ที่สุดก็รู้ตัวยากมากเวลาที่ทำตัวไม่ถูกต้อง

ดาวน์โหลดเอกสาร

ที่มา: กรุงเทพธุรกิจออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 18 มี.ค.56
วันที่โพสต์: 5/04/2556 เวลา 03:02:55

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

เนื้อหาบางส่วน ตอนที่แล้วผู้เขียนพูดถึงภาวะ “ถูงจูงใจให้ตาบอด” (motivated blindness) ว่าเป็นส่วนสำคัญของการทำผิดจรรยาบรรณวิชาชีพในชีวิตประจำวัน อย่างเช่นการเอาเปรียบลูกค้าเล็กๆ น้อยๆ หรือแอบคิดสตางค์บริษัทโดยไม่สมควร ซึ่งมีโอกาสลุกลามเป็นการทุจริตคอร์รัปชันขนาดใหญ่ ถ้าเราไม่ลงมือเองก็สุ่มเสี่ยงจะ “เอาหูไปนา เอาตาไปไร่” เวลาที่เห็นคนอื่นทำผิด ภาวะ “ถูกจูงใจให้ตาบอด” หมายถึงแนวโน้มที่เราจะหาเหตุผลมาเข้าข้างตัวเองโดยอัตโนมัติในหัวเวลาทำในสิ่งที่ตงิดๆ ว่าไม่ควรทำ เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีขึ้น งานวิจัยด้านจิตวิทยาและเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมมากมายยืนยันว่าเราถูกจูงใจให้ ตาบอดเป็นปกติ แม้แต่คนที่คนอื่นมองว่า “ซื่อสัตย์” ที่สุดก็รู้ตัวยากมากเวลาที่ทำตัวไม่ถูกต้อง

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...

ค้นหาข้อมูลในห้องสมุด