อย่าใช้ยา 'โรคหัวใจ' ร่วมกับผู้อื่น

แสดงความคิดเห็น

ยาจำนวนหลายเม็ด ยากลุ่มระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System Drug) เช่น ยาลดความดันโลหิต ยาหัวใจ ยาขับปัสสาวะ ยาละลายลิ่มเลือด และยาลดไขมันในเส้นเลือด มีทั้งยาที่ผลิตในประเทศและนำเข้า เป็นกลุ่มยาที่มีมูลค่าการใช้สูงขึ้นมาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและมีอัตราการเกิดโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น และมีอัตราการตายเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ตรวจวิเคราะห์คุณภาพยากลุ่มระบบหัวใจและหลอดเลือด ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ใน การเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาจากผลิต และที่นำเข้า ณ ด่านอาหารและยา ในปี 2550-2555 ส่งตรวจวิเคราะห์จำนวน 327 ตัวอย่าง ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพทางห้องปฏิบัติการพบว่าผิดมาตรฐาน 49 ตัวอย่าง เป็นยาที่ผลิตในประเทศเพียง 8 ตัวอย่าง และเป็นยาชื่อสามัญ (Genneric Drug) ที่นำเข้าจำนวน 41 ตัวอย่าง

สำหรับการตรวจวิเคราะห์คุณภาพยากลุ่มระบบหัวใจ และหลอดเลือดที่สุ่มตัวอย่างยาจากโรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศตามโครงการสร้าง หลักประกันสุขภาพและมาตรฐานการบริการด้านยา ปี 2545-2554 ผลการตรวจสอบคุณภาพยาระบบหัวใจและหลอดเลือด จำนวน 2,023ตัวอย่าง จาก 553 ทะเบียนยาพบผิดมาตรฐาน 216 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 10.7 โดยผิดมาตรฐานหัวข้อ ปริมาณตัวยาสำคัญ การละลายของตัวยาและสารละลายตัว ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาที่พบผิดมาตรฐาน ทางกรมวิทยาศาสตร์การ แพทย์ได้แจ้งให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาดำเนินการต่อไปแล้ว

จากผลวิเคราะห์คุณภาพ พบว่า ยาที่ผลิตในประเทศส่วนใหญ่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จะดำเนินการเฝ้าระวังคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจให้บุคลากรทางการแพทย์และประชาชนในการใช้ยาที่ผลิตใน ประเทศ เป็นการเพิ่มมูลค่าการใช้ยาที่ผลิตในประเทศ ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ

การใช้ยาในกลุ่มนี้จึงจำเป็นต้องใช้อย่าง ต่อเนื่องตามแพทย์สั่ง ไม่ขาดยา และไม่ลดหรือเพิ่มขนาดยาเอง และควรพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง ควบคู่กับการควบคุมอาหารที่มีรสเค็มหรือมีปริมาณโซเดียมสูง เช่น อาหารกระป๋อง อาหารสำเร็จรูป อาหารหมักดอง เครื่องปรุงรส เป็นต้น รวมทั้งอาหารหวานและอาหารไขมันสูง ร่วมกับออกกำลังกายที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ไตวาย อัมพฤกษ์ อัมพาต หรือการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด

นอกจากนี้ไม่ควรใช้ยาของผู้อื่น แม้ว่าจะมีอาการเหมือนกัน เนื่องจากโรคหัวใจมีหลายชนิด ซึ่งมีการใช้ยาต่างกัน และสภาพร่างกายของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เช่น บางคนอาจมีภาวะการทำงานของไตบกพร่อง หรือมีภาวะโรคอื่นหรือยาอื่นที่ใช้ร่วมด้วย เป็นต้น ยาที่ใช้จึงแตกต่างกัน หากมีปัญหาควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร

ขอบคุณ... http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/35872 (ขนาดไฟล์: 167)

thaihealth.or.thออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 6 ส.ค.56

ที่มา: thaihealth.or.thออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 6 ส.ค.56
วันที่โพสต์: 7/08/2556 เวลา 03:52:35 ดูภาพสไลด์โชว์  อย่าใช้ยา 'โรคหัวใจ' ร่วมกับผู้อื่น

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ยาจำนวนหลายเม็ด ยากลุ่มระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System Drug) เช่น ยาลดความดันโลหิต ยาหัวใจ ยาขับปัสสาวะ ยาละลายลิ่มเลือด และยาลดไขมันในเส้นเลือด มีทั้งยาที่ผลิตในประเทศและนำเข้า เป็นกลุ่มยาที่มีมูลค่าการใช้สูงขึ้นมาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและมีอัตราการเกิดโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น และมีอัตราการตายเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ตรวจวิเคราะห์คุณภาพยากลุ่มระบบหัวใจและหลอดเลือด ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ใน การเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาจากผลิต และที่นำเข้า ณ ด่านอาหารและยา ในปี 2550-2555 ส่งตรวจวิเคราะห์จำนวน 327 ตัวอย่าง ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพทางห้องปฏิบัติการพบว่าผิดมาตรฐาน 49 ตัวอย่าง เป็นยาที่ผลิตในประเทศเพียง 8 ตัวอย่าง และเป็นยาชื่อสามัญ (Genneric Drug) ที่นำเข้าจำนวน 41 ตัวอย่าง สำหรับการตรวจวิเคราะห์คุณภาพยากลุ่มระบบหัวใจ และหลอดเลือดที่สุ่มตัวอย่างยาจากโรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศตามโครงการสร้าง หลักประกันสุขภาพและมาตรฐานการบริการด้านยา ปี 2545-2554 ผลการตรวจสอบคุณภาพยาระบบหัวใจและหลอดเลือด จำนวน 2,023ตัวอย่าง จาก 553 ทะเบียนยาพบผิดมาตรฐาน 216 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 10.7 โดยผิดมาตรฐานหัวข้อ ปริมาณตัวยาสำคัญ การละลายของตัวยาและสารละลายตัว ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาที่พบผิดมาตรฐาน ทางกรมวิทยาศาสตร์การ แพทย์ได้แจ้งให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาดำเนินการต่อไปแล้ว จากผลวิเคราะห์คุณภาพ พบว่า ยาที่ผลิตในประเทศส่วนใหญ่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จะดำเนินการเฝ้าระวังคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจให้บุคลากรทางการแพทย์และประชาชนในการใช้ยาที่ผลิตใน ประเทศ เป็นการเพิ่มมูลค่าการใช้ยาที่ผลิตในประเทศ ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ การใช้ยาในกลุ่มนี้จึงจำเป็นต้องใช้อย่าง ต่อเนื่องตามแพทย์สั่ง ไม่ขาดยา และไม่ลดหรือเพิ่มขนาดยาเอง และควรพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง ควบคู่กับการควบคุมอาหารที่มีรสเค็มหรือมีปริมาณโซเดียมสูง เช่น อาหารกระป๋อง อาหารสำเร็จรูป อาหารหมักดอง เครื่องปรุงรส เป็นต้น รวมทั้งอาหารหวานและอาหารไขมันสูง ร่วมกับออกกำลังกายที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ไตวาย อัมพฤกษ์ อัมพาต หรือการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนี้ไม่ควรใช้ยาของผู้อื่น แม้ว่าจะมีอาการเหมือนกัน เนื่องจากโรคหัวใจมีหลายชนิด ซึ่งมีการใช้ยาต่างกัน และสภาพร่างกายของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เช่น บางคนอาจมีภาวะการทำงานของไตบกพร่อง หรือมีภาวะโรคอื่นหรือยาอื่นที่ใช้ร่วมด้วย เป็นต้น ยาที่ใช้จึงแตกต่างกัน หากมีปัญหาควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร ขอบคุณ... http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/35872 thaihealth.or.thออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 6 ส.ค.56

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...