"ไทยสปริง ฟอรั่ม" ย้ำ "นิรโทษกรรม" ต้องยุติธรรม

แสดงความคิดเห็น

ผู้สื่อข่าวรายงานว่ากลุ่มไทยสปริงได้จัดการชุมนุมออนไลน์ครั้งที่ 5 โดยเป็นการเผยแพร่คลิปผ่านเว็บไวต์ยูทูป โดยในวันนี้ใช้ชื่อตอนว่า "ลงแขก...แล้วสู่ขอ" โดยมีผู้ร่วมอภิปรายประกอบด้วย นายแก้วสรร อติโพธิ นายขวัญสรวง อติโพธิ และ พล.ต.อ.วสิษฐ เดชกุญชร และนายกิตติศักดิ์ ปรกติ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยนายแก้วสรรได้ท้าวความถึงคดีทุจริต คดีทางการเมืองที่พรรคถูกยุบ และคดีการชุมนุมทางการเมือง

นายกิตติศักดิ์ ระบุว่า การนิรโทษกรรมอ้างว่าการกระทำที่เกิดจากแรงจูงใจทางการเมืองขอให้นิรโทษกรรม ไป แต่ไม่ได้นิยามความหมายของการเมืองเอาไว้ แต่เท่าที่ดูผู้เสนอเขาต้องการความหมายอย่างกว้างคือ ความผิดใดๆที่มีเหตุเกี่ยวข้องกับความต้องการการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบ เพราะฉะนั้นการใช้กำลัง การทำลายชีวิตร่างกายหรือการเผาทำลายทรัพย์ ก็เข้าอยู่ในความหมายด้วยกันทั้งสิ้น

นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อหา เมื่อไม่นิยาม หากศาลตีความให้ถูกว่าการเมืองในความหมายทางวิชาการทั่วไปคือคุ้มครองสิ่ง ที่สำคัญยิ่งกว่า แต่หากตีความอย่างกว้างเรื่องอะไรก็เข้าหมด การล้มล้างรัฐบาล หรือการใช้กำลังประทุษร้ายเพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ก็มีเหตุจูงใจทางการเมือง ซึ่งทางวิชาการถือว่าไม่ใช่ ตามอนุสัญญาว่าด้วยความผิดทางการเมือง และอนุสัญญาว่าด้วยความผิดฐานคอร์รัปชั่น ของสหประชาชาติ

"หลักนิรโทษกรรมคือต้องให้เกิดความยุติธรรทม ไม่ใช่ทำแล้วเกิดความอยุติธรรม ไม่มีใครต่อต้านความอยุติธรรมด้วยการกระทำอันอยุติธรรม" นายกิตติศักดิ์กล่าว

อย่างไรก็ตามนายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า หากมีการขึ้นศาลรัฐธรรมนูญอาจจะเบรกได้ กรณีนีเคยเกิดที่ชิลี ที่ประธานาธิบดี ออกกฎหมายนิรโทษตัวเอง และออกกฎหมายห้ามฟ้องตัวเอง ซึ่งศาลชิลีตัดสินว่าการคุ้มครองเฉพาะเป็นไปเพื่อรักษาความสงบ ไม่รวมไปถึงกรณีอื่นโดยเฉพาะชีวิตและทรัพย์สิน ที่รัฐต้องรับผิดชอบ การจะนิรโทษได้มีอย่างเดียวคือรัฐต้องชดใช้แทนผู้กระทำผิด แต่ชีวิตมันชดใช้แทนกันไม่ได้ ถ้านิรโทษแล้วไม่เป็นธรรมก็ขัดกับกฎหมายเสียเอง

"หากจะส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญ หลักใหญ่คือ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในชีวิตร่างกายและย่อมได้รับความคุ้มครอง ทันทีที่ออกกฎหมายว่าการกระทำใดที่เป็นการกระทำต่อชีวิตร่างกายให้ไม่เป็น ผิด เท่ากับว่าในวินาทีนั้นเสรีภาพในชีวิตร่างกายไม่ได้รับความคุ้มครอง เท่ากับคุณยกเว้นรัฐธรรมนูญ แต่หากบอกว่าเป็นความผิดต่อความสงบเรียบร้อยหรือกระทบต่อความมั่นคงแห่งรัฐ แล้วรัฐจะไม่เอาผิด อย่างนี้จึงจะทำได้"นายกิตติศักดิ์กล่า

ขอบคุณ http://breakingnews.nationchannel.com/home/read.php?newsid=689612&lang=T&cat=

เนชั่นแชลแนลออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 22 ก.ค.56

ที่มา: เนชั่นแชลแนลออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 22 ก.ค.56
วันที่โพสต์: 22/07/2556 เวลา 03:48:36

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ผู้สื่อข่าวรายงานว่ากลุ่มไทยสปริงได้จัดการชุมนุมออนไลน์ครั้งที่ 5 โดยเป็นการเผยแพร่คลิปผ่านเว็บไวต์ยูทูป โดยในวันนี้ใช้ชื่อตอนว่า "ลงแขก...แล้วสู่ขอ" โดยมีผู้ร่วมอภิปรายประกอบด้วย นายแก้วสรร อติโพธิ นายขวัญสรวง อติโพธิ และ พล.ต.อ.วสิษฐ เดชกุญชร และนายกิตติศักดิ์ ปรกติ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยนายแก้วสรรได้ท้าวความถึงคดีทุจริต คดีทางการเมืองที่พรรคถูกยุบ และคดีการชุมนุมทางการเมือง นายกิตติศักดิ์ ระบุว่า การนิรโทษกรรมอ้างว่าการกระทำที่เกิดจากแรงจูงใจทางการเมืองขอให้นิรโทษกรรม ไป แต่ไม่ได้นิยามความหมายของการเมืองเอาไว้ แต่เท่าที่ดูผู้เสนอเขาต้องการความหมายอย่างกว้างคือ ความผิดใดๆที่มีเหตุเกี่ยวข้องกับความต้องการการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบ เพราะฉะนั้นการใช้กำลัง การทำลายชีวิตร่างกายหรือการเผาทำลายทรัพย์ ก็เข้าอยู่ในความหมายด้วยกันทั้งสิ้น นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อหา เมื่อไม่นิยาม หากศาลตีความให้ถูกว่าการเมืองในความหมายทางวิชาการทั่วไปคือคุ้มครองสิ่ง ที่สำคัญยิ่งกว่า แต่หากตีความอย่างกว้างเรื่องอะไรก็เข้าหมด การล้มล้างรัฐบาล หรือการใช้กำลังประทุษร้ายเพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ก็มีเหตุจูงใจทางการเมือง ซึ่งทางวิชาการถือว่าไม่ใช่ ตามอนุสัญญาว่าด้วยความผิดทางการเมือง และอนุสัญญาว่าด้วยความผิดฐานคอร์รัปชั่น ของสหประชาชาติ "หลักนิรโทษกรรมคือต้องให้เกิดความยุติธรรทม ไม่ใช่ทำแล้วเกิดความอยุติธรรม ไม่มีใครต่อต้านความอยุติธรรมด้วยการกระทำอันอยุติธรรม" นายกิตติศักดิ์กล่าว อย่างไรก็ตามนายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า หากมีการขึ้นศาลรัฐธรรมนูญอาจจะเบรกได้ กรณีนีเคยเกิดที่ชิลี ที่ประธานาธิบดี ออกกฎหมายนิรโทษตัวเอง และออกกฎหมายห้ามฟ้องตัวเอง ซึ่งศาลชิลีตัดสินว่าการคุ้มครองเฉพาะเป็นไปเพื่อรักษาความสงบ ไม่รวมไปถึงกรณีอื่นโดยเฉพาะชีวิตและทรัพย์สิน ที่รัฐต้องรับผิดชอบ การจะนิรโทษได้มีอย่างเดียวคือรัฐต้องชดใช้แทนผู้กระทำผิด แต่ชีวิตมันชดใช้แทนกันไม่ได้ ถ้านิรโทษแล้วไม่เป็นธรรมก็ขัดกับกฎหมายเสียเอง "หากจะส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญ หลักใหญ่คือ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในชีวิตร่างกายและย่อมได้รับความคุ้มครอง ทันทีที่ออกกฎหมายว่าการกระทำใดที่เป็นการกระทำต่อชีวิตร่างกายให้ไม่เป็น ผิด เท่ากับว่าในวินาทีนั้นเสรีภาพในชีวิตร่างกายไม่ได้รับความคุ้มครอง เท่ากับคุณยกเว้นรัฐธรรมนูญ แต่หากบอกว่าเป็นความผิดต่อความสงบเรียบร้อยหรือกระทบต่อความมั่นคงแห่งรัฐ แล้วรัฐจะไม่เอาผิด อย่างนี้จึงจะทำได้"นายกิตติศักดิ์กล่า ขอบคุณ http://breakingnews.nationchannel.com/home/read.php?newsid=689612&lang=T&cat= เนชั่นแชลแนลออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 22 ก.ค.56

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...

ห้องการเมือง