การเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะ (Politics and Public Opinions)

แสดงความคิดเห็น

หากให้ความสำคัญของหัวข้อการเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะแล้ว จะได้ความสำคัญว่า เป็นความคิดเห็นสาธารณะที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในฐานะที่เป็นเครื่อง มือควบคุมสังคมประชาธิปไตย มิให้ฝ่ายปกครองใช้อำนาจในทางมิชอบหากให้ความหมายจะหมายถึง ความรู้สึกต่อประเด็นใดประเด็นหนึ่งซึ่งเกิดมาจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่มีข้อมูลที่ดีที่สุด มีสติปัญญามากที่สุด และมีศีลธรรมมากที่สุด

ประเด็นทางการเมือง ที่เพิ่งจะผ่านไปสดๆ ร้อนๆในเรื่อง วาระการพิจารณาการกู้เงินจำนวนสองล้านล้านบาท ของกระทรวงการคลัง เพื่อนำมาใช้ในโครงการพัฒนาระบบโครงสร้างคมนาคมทั่วปรเทศไทย การพิจารณาในวันที่ 28-29?มีนาคม 2556 และผลโหวตก็ทราบกันดีอยู่แล้วว่ารัฐบาลได้คะแนน 284 ต่อ 152 เสียง และงดออกเสียง 22 เสียง

คงมิอาจปฏิเสธได้ว่าเมื่อถามประชาชนให้แสดงความคิดเห็นสาธารณะใน เรื่องดังกล่าวนี้แล้ว เสียงส่วนใหญ่คงจะเห็นด้วยกับอภิมหาโครงการขนาดใหญ่นี้ เพราะถ้าหากรัฐบาลทำได้แล้ว การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติย่อมจะเจริญก้าวหน้าอย่างแน่นอน และยังเป็นที่ชื่นชอบของประชาชนอีกด้วย เพียงแต่ว่า จะทำอย่างไรถึงจะมีกระบวนการควบคุม กระบวนการตรวจสอบ ชนิดที่ว่า ความคิดซื่อสัตย์ สุจริตอยู่ที่ใจทั้งดวง (มิใช่ครึ่งดวงสุจริต อีกครึ่งดวงทุจริต) นี่สิเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่งเพราะถ้าหากถามประชาชน ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังไม่เชื่อว่าจะทำได้ 100% ก็เห็นกันอยู่ที่สื่อมวลชนนำเสนอเรื่องทุจริต คอร์รัปชั่น เป็นระยะๆ และยังติดอันดับโลกอยู่ด้วย

ในช่วงที่ผ่านมาในสภาผู้แทนราษฎร ฝ่ายค้านก็ค้านในเชิงการตรวจสอบ การควบคุมวิธีการดำเนินงาน วิธีปฏิบัติ พระราชบัญญัติการกู้เงิน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่างๆหรือมุมมองในเชิงทุจริตที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต ฝ่ายรัฐบาลก็ตอบกระทู้ว่ามีกฎหมาย มีพระราชบัญญัติรองรับไว้แล้วสามารถกระทำการกู้เงินมาดำเนินโครงการ ได้ มีการควบคุมมีการตรวจสอบ สามารถดำเนินการได้ตามรัฐธรรมนูญสุดแล้วแต่จะคิดก็ว่ากันไปทั้ง รัฐบาลและฝ่ายค้าน

สิ่งหนึ่งที่เป็นประโยชน์กับประเทศชาติ ที่มิควรมองข้าม?คือ ความคิดเห็นสาธารณะ ของภาคประชาชนที่มีต่อการเมือง ความคิดเห็นของคนหมู่มาก หรือท่าทีของประชาชนกลุ่มใหญ่ที่มีประเด็นสำคัญๆ ของสังคมในเรื่องนี้ รัฐบาลมิควรมองข้ามเพราะ ในแง่ของรัฐบาลที่มีต่อประชาชน ประโยชน์ที่รัฐบาลจะได้รับก็มีมาก ถ้าหากให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นสาธารณะ เช่น

(1) รัฐบาลทราบว่าประชาชนต้องการอะไร และรัฐบาลสามารถตอบสนองความต้องการนั้นได้อย่างไร

(2) รัฐบาลได้ทราบข้อบกพร่องในการบริหารงานเพื่อจักได้ปรับปรุงแก้ไข

(3) รัฐบาลได้รับความร่วมมือจากประชาชนเพิ่มมากขึ้น

สิ่งต่างๆ เหล่านี้มิอาจมองข้ามได้เลย

เช่นเดียวกัน ถ้ามองในแง่ของประชาชนในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม

(1) ทำให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นปัญหาต่างๆ ในทางการเมืองมากขึ้น

(2) ทำให้สามารถแสดงว่าตนเข้ากับกลุ่มได้

(3) เป็นวิธีการแก้ไขความขัดแย้งตามระบอบประชาธิปไตย

ดังนั้น การเมืองกับการแสดงความคิดเห็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดที่แสดงออกมา ทั้งการรวมตัวของฝูงชน(Crowd) หรือมวลชน(Mass) หรือสื่อสารมวลชนใดๆ ก็ตาม สามารถออกมาแสดงความคิดเห็นได้ตามระบอบประชาธิปไตย การแสดงความคิดเห็นสาธารณะที่แตกต่างจะช่วยฉุกคิดในแง่ของผลประ โยชน์ส่วนรวม เพิ่มความรอบคอบ มีความละเอียดลออ ระมัดระวังมากยิ่งขึ้น และเกิดการก่อตัวของความคิดเห็นสาธารณะในขั้นต่างๆ ดังนี้

(1) Problem phase (ขั้นปัญหา) คือสถานการณ์กำลังเกิดปัญหาแต่การนิยามปัญหายังขาดความชัดเจน

(2) Proposal phase (ขั้นเสนอ) เป็นการกำหนดแนวทางเพื่อแก้ปัญหา

(3) Policy phase (ขั้นนโยบาย) เป็นการตัดสินใจเลือกแนวทางใดแนวทางหนึ่งเพื่อแก้ปัญหา

(4) Program phase (ขั้นแผนงาน) นำนโยบายไปปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา

(5) Appraisal phase (ขั้นประเมินผล) ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของนโยบาย/แผนงาน/โครงการ

เมื่อปฏิบัติได้ตามขั้นตอนแล้วโดยเฉพาะในการพิจารณาดำเนินงาน โครงการขนาดใหญ่นี้ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อสายตาของชาวโลกสมกับที่คุย ไว้ ผู้เขียนแสดงทัศนคติว่า การเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะ ก็ยังมีกลุ่มคนที่ทำงานนี้อยู่บ้าง แต่จะเห็นเป็นรูปธรรมหรือไม่ อย่างไร ที่จะให้รัฐบาล และประชาชน ได้นำแนวทาง ความคิดเห็นสาธารณะนี้ไปปฏิบัติ ชนิดที่เรียกว่าWIN WIN กันทั้งสองฝ่าย ประเด็นนี้เป็นเรื่องที่ต้องทบทวนให้ได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งคู่...อาจารย์นุกูล ชิ้นฟัก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ Nukool@hu.ac.t

ขอบคุณ http://www.ryt9.com/s/nnd/1629885

ที่มา: แนวหน้าออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 12 เม.ย.56
วันที่โพสต์: 14/04/2556 เวลา 03:31:32

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

หากให้ความสำคัญของหัวข้อการเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะแล้ว จะได้ความสำคัญว่า เป็นความคิดเห็นสาธารณะที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในฐานะที่เป็นเครื่อง มือควบคุมสังคมประชาธิปไตย มิให้ฝ่ายปกครองใช้อำนาจในทางมิชอบหากให้ความหมายจะหมายถึง ความรู้สึกต่อประเด็นใดประเด็นหนึ่งซึ่งเกิดมาจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่มีข้อมูลที่ดีที่สุด มีสติปัญญามากที่สุด และมีศีลธรรมมากที่สุด ประเด็นทางการเมือง ที่เพิ่งจะผ่านไปสดๆ ร้อนๆในเรื่อง วาระการพิจารณาการกู้เงินจำนวนสองล้านล้านบาท ของกระทรวงการคลัง เพื่อนำมาใช้ในโครงการพัฒนาระบบโครงสร้างคมนาคมทั่วปรเทศไทย การพิจารณาในวันที่ 28-29?มีนาคม 2556 และผลโหวตก็ทราบกันดีอยู่แล้วว่ารัฐบาลได้คะแนน 284 ต่อ 152 เสียง และงดออกเสียง 22 เสียง คงมิอาจปฏิเสธได้ว่าเมื่อถามประชาชนให้แสดงความคิดเห็นสาธารณะใน เรื่องดังกล่าวนี้แล้ว เสียงส่วนใหญ่คงจะเห็นด้วยกับอภิมหาโครงการขนาดใหญ่นี้ เพราะถ้าหากรัฐบาลทำได้แล้ว การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติย่อมจะเจริญก้าวหน้าอย่างแน่นอน และยังเป็นที่ชื่นชอบของประชาชนอีกด้วย เพียงแต่ว่า จะทำอย่างไรถึงจะมีกระบวนการควบคุม กระบวนการตรวจสอบ ชนิดที่ว่า ความคิดซื่อสัตย์ สุจริตอยู่ที่ใจทั้งดวง (มิใช่ครึ่งดวงสุจริต อีกครึ่งดวงทุจริต) นี่สิเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่งเพราะถ้าหากถามประชาชน ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังไม่เชื่อว่าจะทำได้ 100% ก็เห็นกันอยู่ที่สื่อมวลชนนำเสนอเรื่องทุจริต คอร์รัปชั่น เป็นระยะๆ และยังติดอันดับโลกอยู่ด้วย ในช่วงที่ผ่านมาในสภาผู้แทนราษฎร ฝ่ายค้านก็ค้านในเชิงการตรวจสอบ การควบคุมวิธีการดำเนินงาน วิธีปฏิบัติ พระราชบัญญัติการกู้เงิน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่างๆหรือมุมมองในเชิงทุจริตที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต ฝ่ายรัฐบาลก็ตอบกระทู้ว่ามีกฎหมาย มีพระราชบัญญัติรองรับไว้แล้วสามารถกระทำการกู้เงินมาดำเนินโครงการ ได้ มีการควบคุมมีการตรวจสอบ สามารถดำเนินการได้ตามรัฐธรรมนูญสุดแล้วแต่จะคิดก็ว่ากันไปทั้ง รัฐบาลและฝ่ายค้าน สิ่งหนึ่งที่เป็นประโยชน์กับประเทศชาติ ที่มิควรมองข้าม?คือ ความคิดเห็นสาธารณะ ของภาคประชาชนที่มีต่อการเมือง ความคิดเห็นของคนหมู่มาก หรือท่าทีของประชาชนกลุ่มใหญ่ที่มีประเด็นสำคัญๆ ของสังคมในเรื่องนี้ รัฐบาลมิควรมองข้ามเพราะ ในแง่ของรัฐบาลที่มีต่อประชาชน ประโยชน์ที่รัฐบาลจะได้รับก็มีมาก ถ้าหากให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นสาธารณะ เช่น (1) รัฐบาลทราบว่าประชาชนต้องการอะไร และรัฐบาลสามารถตอบสนองความต้องการนั้นได้อย่างไร (2) รัฐบาลได้ทราบข้อบกพร่องในการบริหารงานเพื่อจักได้ปรับปรุงแก้ไข (3) รัฐบาลได้รับความร่วมมือจากประชาชนเพิ่มมากขึ้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้มิอาจมองข้ามได้เลย เช่นเดียวกัน ถ้ามองในแง่ของประชาชนในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม (1) ทำให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นปัญหาต่างๆ ในทางการเมืองมากขึ้น (2) ทำให้สามารถแสดงว่าตนเข้ากับกลุ่มได้ (3) เป็นวิธีการแก้ไขความขัดแย้งตามระบอบประชาธิปไตย ดังนั้น การเมืองกับการแสดงความคิดเห็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดที่แสดงออกมา ทั้งการรวมตัวของฝูงชน(Crowd) หรือมวลชน(Mass) หรือสื่อสารมวลชนใดๆ ก็ตาม สามารถออกมาแสดงความคิดเห็นได้ตามระบอบประชาธิปไตย การแสดงความคิดเห็นสาธารณะที่แตกต่างจะช่วยฉุกคิดในแง่ของผลประ โยชน์ส่วนรวม เพิ่มความรอบคอบ มีความละเอียดลออ ระมัดระวังมากยิ่งขึ้น และเกิดการก่อตัวของความคิดเห็นสาธารณะในขั้นต่างๆ ดังนี้ (1) Problem phase (ขั้นปัญหา) คือสถานการณ์กำลังเกิดปัญหาแต่การนิยามปัญหายังขาดความชัดเจน (2) Proposal phase (ขั้นเสนอ) เป็นการกำหนดแนวทางเพื่อแก้ปัญหา (3) Policy phase (ขั้นนโยบาย) เป็นการตัดสินใจเลือกแนวทางใดแนวทางหนึ่งเพื่อแก้ปัญหา (4) Program phase (ขั้นแผนงาน) นำนโยบายไปปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา (5) Appraisal phase (ขั้นประเมินผล) ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของนโยบาย/แผนงาน/โครงการ เมื่อปฏิบัติได้ตามขั้นตอนแล้วโดยเฉพาะในการพิจารณาดำเนินงาน โครงการขนาดใหญ่นี้ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อสายตาของชาวโลกสมกับที่คุย ไว้ ผู้เขียนแสดงทัศนคติว่า การเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะ ก็ยังมีกลุ่มคนที่ทำงานนี้อยู่บ้าง แต่จะเห็นเป็นรูปธรรมหรือไม่ อย่างไร ที่จะให้รัฐบาล และประชาชน ได้นำแนวทาง ความคิดเห็นสาธารณะนี้ไปปฏิบัติ ชนิดที่เรียกว่าWIN WIN กันทั้งสองฝ่าย ประเด็นนี้เป็นเรื่องที่ต้องทบทวนให้ได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งคู่...อาจารย์นุกูล ชิ้นฟัก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ Nukool@hu.ac.t ขอบคุณ http://www.ryt9.com/s/nnd/1629885

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...

ห้องการเมือง