ลำดับเหตุการณ์สำคัญ คดีประวัติศาสตร์'ปราสาทพระวิหาร'

แสดงความคิดเห็น

จุดเริ่มต้นระหว่างข้อพิพาทไทยกัมพูชาบนพื้นที่ทับซ้อน

จุดเริ่มต้นระหว่างข้อพิพาทไทยกัมพูชาบนพื้นที่ทับซ้อน

ปี 2450 จักรวรรดินิยมฝรั่งเศส ให้ไทยยอมเขียนแผนที่กำหนดให้เขาพระวิหารอยู่ในดินแดนของกัมพูชา ในการทำสนธิสัญญาเพิ่มเติม รัฐบาลไทยก็ยอมรับแผนที่ที่ฝรั่งเศสสร้างขึ้นมาแต่โดยดีโดยมิได้ทักท้วง

ปี พ.ศ. 2483 เกิดสงครามพิพาทอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศสขึ้นในปี พ.ศ. 2484 ประเทศไทยญี่ปุ่นที่เป็นมหาอำนาจเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ย ฝรั่งเศสคืน 4จังหวัด ให้ไทยปราสาทพระวิหารกลับมาอยู่ในดินแดนไทยอย่างสมบูรณ์

ปราสาทพระวิหาร

24 พฤศจิกายน 2501 เจ้านโรดมสีหนุแห่งกัมพูชาตัดความสัมพันธ์กับไทยหลังกัมพูชาได้รับเอกราชจาก ฝรั่งเศส จึงเริ่มมีข้อขัดแย้งเรื่องเขตแดนรอยต่อระหว่างไทยกับกัมพูชา

วันที่ 6 ตุลาคม 2502 รัฐบาลเจ้านโรดมสีหนุแห่งกัมพูชา ภายใต้การหนุนหลังของฝรั่งเศส ได้ยื่นฟ้องต่อศาลโลก ขอให้ไทยถอนกองกำลังทหารออกจากเขาพระวิหาร และขอให้ศาลชี้ขาดว่าอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารคืน ยื่นฟ้องทั้งหมด 73 ครั้ง

วันที่ 15 มิถุนายน 2505 ศาลโลกได้ตัดสินให้อธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารเป็นของประเทศกัมพูชา ด้วยคะแนน 9 ต่อ 3 เสียง โดยบริเวณดังกล่าวมีเนื้อที่ประมาณ 150 ไร่

รัฐบาลไทยแถลงต่อประชาชนแสดงความไม่เห็นพ้องด้วยกับคำพิพากษาของศาล

วัน ที่ 3 กรกฎาคม 2505 รัฐบาลไทยแถลงต่อประชาชนแสดงความไม่เห็นพ้องด้วยกับคำพิพากษาของศาล แต่อย่างไรก็ดี รัฐบาลก็ยังแถลงว่าในฐานะที่เป็นสมาชิกสหประชาชาติจะปฏิบัติตามพันธกรณีที่ ตนมีอยู่ตามคำพิพากษา

-6 กรกฎาคม 2505 นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีหนังสือถึงนายอูถั่น รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติประกาศจุดยืนและว่าไม่เห็นด้วยและขอคัดคัานคํา พิพากษาและตั้งขอสงวนซึ่งมีผลตลอดไปโดยไม่จํากัดเวลาเกี่ยวกับสิทธิที่มี อยู่และจะพึงมีในการครอบครองปราสาทพระวิหารในอนาคตตามกระบวนการที่ชอบด้วย กฎหมาย ขอสงวนดังกล่าวมีผลบังคับจนถึงปัจจุบันโดยมิได้มีการขาดอายุความ

-12 กรกฎาคม 2505 มติ ครม.ยอมถอนกำลังทหารยกอาณาเขตเขาพระวิหารให้กัมพูชาและยกเสาทั้งต้นลงมา โดยไม่ยอมลดธงและระดมชาวบ้านภูมิซรอลไปขึงลวดหนามกั้น

-15 กรกฎาคม 2505 รัฐบาลไทยได้ประกาศห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปล่วงล้ำในพื้นที่เขาพระวิหาร

-14 มิถุนายน 2543 ประธาน คณะกรรมาธิการ เขตแดนร่วมฯ ของทั้งสองฝ่าย คือ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศไทย และนายวาร์ กิม ฮง ที่ปรึกษารัฐบาลผู้รับผิดชอบกิจการชายแดนกัมพูชา ได้ลงนามใน บันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู 43)

-8 มีนาคม 2548 กัมพูชาได้เสนอต่อองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกอย่างเป็นทางการ ปี 2549

-18 มิถุนายน 2551 กระทรวงการต่างประเทศ ที่มีนายนพดล ปัทมะ เป็น รมว.ออกแถลงการณ์ร่วมกับกัมพูชาเสนอขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก โดยกัมพูชาฝ่ายเดียวโดยไทยให้ความสนับสนุนอย่างเต็มที่

ศาลปกครองกลาง มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ให้กระทรวงการต่างประเทศและคณะรัฐมนตรียุติการดำเนินการตามมติ ครม.

-28 มิถุนายน 2551 ศาลปกครองกลาง มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ให้กระทรวงการต่างประเทศและคณะรัฐมนตรียุติการดำเนินการตามมติ ครม.ที่รับรองการออกแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาสนับสนุนให้กัมพูชาจดทะเบียน ปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลก ไปจนกว่าคดีจะเป็นที่สิ้นสุด หรือ ศาลจะมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น

- 8 กรกฎาคม 2551 องค์การยูเนสโกประกาศขึ้นทะเบียนตามคำขอของกัมพูชาให้ตัวปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก เฉพาะเพียงตัวปราสาทเท่านั้น

- 4 กุมภาพันธ์ 2554 ทหารไทยกับทหารกัมพูชาปะทะกันที่ภูมะเขือใกล้กับเขาพระวิหาร

- 28 เมษายน 2554 กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชายื่นฟ้องศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลโลกให้ตีความคำพิพากษาเมื่อปี 2505

แผนที่แบ่งเขตแดน ไทย-กัมพูชา

- 21 พฤศจิกายน 2554 ไทยได้ยื่นข้อสังเกตต่อศาลโลกไม่มีอำนาจและไม่สามารถรับคดีไว้พิจารณาได้ หรือถ้ามีอำนาจ ก็ไม่สามารถตีความในคำพิพากษาเดิมได้ และขอให้ศาลตัดสินว่า คำพิพากษาเดิมไม่มีการตัดสินเรื่องเขตแดน

- 15-19 เมษายน 2556 ศาลโลกได้นัดทั้งสองประเทศแถลงด้วยวาจา ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ฝ่ายไทยนำโดย นายวีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงเฮก เนเธอร์แลนด์

-11 พฤศจิกายน 2556 ศาลโลก นัดอ่านคำตัดสินคดีประวัติศาสตร์" ปราสาทพระวิหาร" ผลคือ....??

ขอบคุณ... http://m.thairath.co.th/content/pol/380011

(ไทยรัฐออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 11 พ.ย.56)

ที่มา: ไทยรัฐออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 11 พ.ย.56
วันที่โพสต์: 12/11/2556 เวลา 03:37:04 ดูภาพสไลด์โชว์ ลำดับเหตุการณ์สำคัญ คดีประวัติศาสตร์'ปราสาทพระวิหาร'

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

จุดเริ่มต้นระหว่างข้อพิพาทไทยกัมพูชาบนพื้นที่ทับซ้อน จุดเริ่มต้นระหว่างข้อพิพาทไทยกัมพูชาบนพื้นที่ทับซ้อน ปี 2450 จักรวรรดินิยมฝรั่งเศส ให้ไทยยอมเขียนแผนที่กำหนดให้เขาพระวิหารอยู่ในดินแดนของกัมพูชา ในการทำสนธิสัญญาเพิ่มเติม รัฐบาลไทยก็ยอมรับแผนที่ที่ฝรั่งเศสสร้างขึ้นมาแต่โดยดีโดยมิได้ทักท้วง ปี พ.ศ. 2483 เกิดสงครามพิพาทอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศสขึ้นในปี พ.ศ. 2484 ประเทศไทยญี่ปุ่นที่เป็นมหาอำนาจเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ย ฝรั่งเศสคืน 4จังหวัด ให้ไทยปราสาทพระวิหารกลับมาอยู่ในดินแดนไทยอย่างสมบูรณ์ ปราสาทพระวิหาร 24 พฤศจิกายน 2501 เจ้านโรดมสีหนุแห่งกัมพูชาตัดความสัมพันธ์กับไทยหลังกัมพูชาได้รับเอกราชจาก ฝรั่งเศส จึงเริ่มมีข้อขัดแย้งเรื่องเขตแดนรอยต่อระหว่างไทยกับกัมพูชา วันที่ 6 ตุลาคม 2502 รัฐบาลเจ้านโรดมสีหนุแห่งกัมพูชา ภายใต้การหนุนหลังของฝรั่งเศส ได้ยื่นฟ้องต่อศาลโลก ขอให้ไทยถอนกองกำลังทหารออกจากเขาพระวิหาร และขอให้ศาลชี้ขาดว่าอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารคืน ยื่นฟ้องทั้งหมด 73 ครั้ง วันที่ 15 มิถุนายน 2505 ศาลโลกได้ตัดสินให้อธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารเป็นของประเทศกัมพูชา ด้วยคะแนน 9 ต่อ 3 เสียง โดยบริเวณดังกล่าวมีเนื้อที่ประมาณ 150 ไร่ รัฐบาลไทยแถลงต่อประชาชนแสดงความไม่เห็นพ้องด้วยกับคำพิพากษาของศาล วัน ที่ 3 กรกฎาคม 2505 รัฐบาลไทยแถลงต่อประชาชนแสดงความไม่เห็นพ้องด้วยกับคำพิพากษาของศาล แต่อย่างไรก็ดี รัฐบาลก็ยังแถลงว่าในฐานะที่เป็นสมาชิกสหประชาชาติจะปฏิบัติตามพันธกรณีที่ ตนมีอยู่ตามคำพิพากษา -6 กรกฎาคม 2505 นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีหนังสือถึงนายอูถั่น รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติประกาศจุดยืนและว่าไม่เห็นด้วยและขอคัดคัานคํา พิพากษาและตั้งขอสงวนซึ่งมีผลตลอดไปโดยไม่จํากัดเวลาเกี่ยวกับสิทธิที่มี อยู่และจะพึงมีในการครอบครองปราสาทพระวิหารในอนาคตตามกระบวนการที่ชอบด้วย กฎหมาย ขอสงวนดังกล่าวมีผลบังคับจนถึงปัจจุบันโดยมิได้มีการขาดอายุความ -12 กรกฎาคม 2505 มติ ครม.ยอมถอนกำลังทหารยกอาณาเขตเขาพระวิหารให้กัมพูชาและยกเสาทั้งต้นลงมา โดยไม่ยอมลดธงและระดมชาวบ้านภูมิซรอลไปขึงลวดหนามกั้น -15 กรกฎาคม 2505 รัฐบาลไทยได้ประกาศห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปล่วงล้ำในพื้นที่เขาพระวิหาร -14 มิถุนายน 2543 ประธาน คณะกรรมาธิการ เขตแดนร่วมฯ ของทั้งสองฝ่าย คือ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศไทย และนายวาร์ กิม ฮง ที่ปรึกษารัฐบาลผู้รับผิดชอบกิจการชายแดนกัมพูชา ได้ลงนามใน บันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู 43) -8 มีนาคม 2548 กัมพูชาได้เสนอต่อองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกอย่างเป็นทางการ ปี 2549 -18 มิถุนายน 2551 กระทรวงการต่างประเทศ ที่มีนายนพดล ปัทมะ เป็น รมว.ออกแถลงการณ์ร่วมกับกัมพูชาเสนอขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก โดยกัมพูชาฝ่ายเดียวโดยไทยให้ความสนับสนุนอย่างเต็มที่ ศาลปกครองกลาง มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ให้กระทรวงการต่างประเทศและคณะรัฐมนตรียุติการดำเนินการตามมติ ครม. -28 มิถุนายน 2551 ศาลปกครองกลาง มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ให้กระทรวงการต่างประเทศและคณะรัฐมนตรียุติการดำเนินการตามมติ ครม.ที่รับรองการออกแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาสนับสนุนให้กัมพูชาจดทะเบียน ปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลก ไปจนกว่าคดีจะเป็นที่สิ้นสุด หรือ ศาลจะมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น - 8 กรกฎาคม 2551 องค์การยูเนสโกประกาศขึ้นทะเบียนตามคำขอของกัมพูชาให้ตัวปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก เฉพาะเพียงตัวปราสาทเท่านั้น - 4 กุมภาพันธ์ 2554 ทหารไทยกับทหารกัมพูชาปะทะกันที่ภูมะเขือใกล้กับเขาพระวิหาร - 28 เมษายน 2554 กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชายื่นฟ้องศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลโลกให้ตีความคำพิพากษาเมื่อปี 2505 แผนที่แบ่งเขตแดน ไทย-กัมพูชา - 21 พฤศจิกายน 2554 ไทยได้ยื่นข้อสังเกตต่อศาลโลกไม่มีอำนาจและไม่สามารถรับคดีไว้พิจารณาได้ หรือถ้ามีอำนาจ ก็ไม่สามารถตีความในคำพิพากษาเดิมได้ และขอให้ศาลตัดสินว่า คำพิพากษาเดิมไม่มีการตัดสินเรื่องเขตแดน - 15-19 เมษายน 2556 ศาลโลกได้นัดทั้งสองประเทศแถลงด้วยวาจา ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ฝ่ายไทยนำโดย นายวีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ -11 พฤศจิกายน 2556 ศาลโลก นัดอ่านคำตัดสินคดีประวัติศาสตร์" ปราสาทพระวิหาร" ผลคือ....?? ขอบคุณ... http://m.thairath.co.th/content/pol/380011 (ไทยรัฐออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 11 พ.ย.56)

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...