สร้าง “ลูกชาวนามืออาชีพ” ตอบโจทย์เรียนไป“ไม่จน-ไม่เหนื่อย-เท่ห์”

แสดงความคิดเห็น

เมื่อพูดถึงปัญหา “แน่นอก”ชนิด “กลืนไม่เข้าคายไม่ออก”ตอนนี้ คงหนีไม่พ้น “ข้าวไทย”ที่ผู้ใหญ่ใจดีหลายฝ่ายกำลังช่วยกันหาทางออกให้ชาวนาได้ลืมตาอ้า ปากกันอีกครั้ง!แต่หากมองย้อนไปให้ถึงรากหญ้าปัญหา “ทำนา แต่ไม่ได้นา”ทำให้อาชีพที่ถูกขนานนามว่าเป็น “สันหลังของชาติ” กลายเป็นอาชีพที่คนรุ่นใหม่ปฏิเสธ

“สันหลังของชาติ” กลายเป็นอาชีพที่คนรุ่นใหม่ปฏิเสธ

สถาบันวิชาการด้าน สหกรณ์ คณะเศรษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ร่วมจัดงาน

สถาบันวิชาการด้านสหกรณ์ คณะเศรษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)จึงร่วมกันจัด “โครงการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ชาวนามืออาชีพ” กล่าว ถึงโครงสร้างปัญหาของชาวนาไทยที่ทำนาแล้วไม่ได้นาว่า ชาวนาไทยกำลังเผชิญกับโจทย์ที่ท้าทายความอยู่รอด นอกจากนี้ก็ยังมีการถ่ายทอดโรงเรียนชาวนามืออาชีพออกมาในรูปแบบการ์ตูน เพื่อดึงดูดให้เด็กเยาวชนสนใจ

รศ.จุฑาทิพย์ ภัทราวาท ผู้อำนวยการสถาบันวิชาการด้านสหกรณ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะหัวหน้าโครงการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ชาวนามืออาชีพ กล่าวว่า ความเสี่ยงของชาวนาไทยคือ การเผชิญกับความไม่รู้และขาดทักษะการทำการเกษตรสมัยใหม่ จึงมีการออกแบบหลักสูตรโรงเรียนลูกชาวนาเพื่อสร้างชาวนามืออาชีพประกอบด้วย ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ และความรู้ในการดำเนินชีวิต เมื่อวิเคราะห์ปัญหาโครงสร้างชาวนาไทยจึงมาจาก 3 ปัจจัยสำคัญคือ 1. การแบกรับต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น 2. การขาดทักษะและความรู้ ทั้งความรู้เท่าทันกลไกตลาด การลดต้นทุนการผลิตและการจัดการ จึงตกเป็นเหยื่อธุรกิจการผลิต การขายปุ๋ยและสารเคมี และ 3. ขาดวิถีชีวิตที่พอเพียงทั้งการส่งลูกเข้าเรียนในเมืองทำให้หมดตัวกับการ ศึกษา เป็นหนี้เงินกู้จากกับดักเฟอร์นิเจอร์สมัยใหม่ นอกจากนี้ยังถูกกระหน่ำจากปัจจัยภายนอกทั้งการถูกนายทุนผูกขาดกดราคาตลาดทำ ให้ไม่มีอำนาจต่อรอง กฎหมายที่ไม่เอื้อต่อชาวนารายย่อย นโยบายรัฐที่แก้ปัญหาปลายเหตุโดยไม่แก้ที่ต้นเหตุคือการติดอาวุธทางปัญญาให้ กับชาวนาไทยรุ่นใหม่”

“โครงการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ชาวนามืออาชีพ”

ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ที่ ปรึกษาด้านวิชาการ สสค.ระบุสถิติเยาวชนไทยเข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาเพียง30% ขณะเด็กส่วนใหญ่ 70% ทะยอยหลุดจากระบบการศึกษาตั้งแต่ป.6นั้นต้องเข้าสู่ระบบแรงงานแบบไม่ตั้งตัว ทำให้ไม่มีทักษะเพียงพอในการประกอบอาชีพ สร้างปัญหาการว่างงานจึงเห็นควรว่า เทรนด์การศึกษาไทยยุคใหม่ต้องเน้นเรื่องการมีงานทำ

“ประเด็นสำคัญคือ ต้องเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้จากการถ่ายทอดเป็นการลงมือทำ โดยต้องอาศัยความร่วมมือจากภาครัฐ ขยายผลหลักสูตรทั้งในและนอกระบบ เพื่อส่งเสริมการเรียนทักษะอาชีพ และอาศัยความร่วมมือจากสื่อเพื่อต่อสู้กับกระบวนการความคิดที่รู้สึกว่าเป็น ชาวนา เป็นเกษตรกรแล้ว“เหนื่อย จนไม่เท่ห์” โดยทำให้เด็กเยาวชนรุ่นใหม่เห็นว่า ชีวิต “ชาวนามหาเศรษฐี ทำได้จริงอย่างไร?” ซึ่งเป็นการต่อสู่กันในความคิด เพื่อแก้ปัญหาลูกชาวนาลูกเกษตรกรละทิ้งไร่สวน เพราะมีค่านิยมที่ทำนา ไม่ได้นา ล่าสุดอายุเฉลี่ยของเกษตรกรไทยก็พุ่งสูงขึ้นเป็น 55 ปีและจะสูงถึง 65 ปี หากปัญหาไม่ได้แก้ไขใน 10 ปีนี้”

ด.ญ.อมรลักษณ์ คงขิม

ด้าน ด.ญ.อมรลักษณ์ คงขิม อายุ 14 ปี โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 2 หนึ่งในเยาวชนที่ร่วมโรงเรียนลูกชาวนา จ.อยุธยา กล่าวว่า สิ่งที่ได้จากโรงเรียนลูกชาวนาคือการเป็นเกษตรกรที่ดี เช่น การใช้ปุ๋ยชีวภาพจากฮอร์โมนไข่ที่ทำจากไข่ นม น้ำตาล ฉีดรอบนาข้าวแทนยาฆ่าแมลง ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิตและดีต่อสุขภาพทั้งพ่อแม่และผู้บริโภค นอกจากนี้การที่ได้เรียนรู้ร่วมกับเพื่อนที่เป็นลูกชาวนาด้วยกันทำให้เกิด ความภาคภูมิใจที่ได้เกิดเป็นลูกชาวนา เพราะถ้าไม่มีชาวนาแล้วคนไทยก็ไม่มีข้าวกิน และในอนาคตก็อยากเป็นชาวนารุ่นใหม่ที่มีการวางแผนการผลิต การแปรรูป และต้องมีการรวมกลุ่มกันเพื่อตั้งสหกรณ์เพื่อมีอำนาจต่อรองจากทุนภายนอก

สำหรับ “เนื้อหาในพ็อกเก็ตบุ๊คการ์ตูนชาวนามืออาชีพ” นั้น สะท้อนถึงปัญหาหัวอกพ่อลูกชาวนาไทยคู่หนึ่ง ที่แม้ลูกชายจะเติบโตอย่างมีความสุขในท้องนา แต่สังคมกับคิดตรงข้าม“เพื่อนร่วมชั้นเดียวกันเล่าว่า พ่อทำนามาตั้งแต่ผมเกิดจนตอนนี้พ่อก็ยังเป็นแค่ชาวนาจนๆเหมือนเดิม ถึงผมจะชอบไปนากับพ่อ แต่เพื่อนๆที่โรงเรียนชอบว่า ชาวนาน่ะ ยังไงก็จนไปทั้งชีวิต..”

ตัวละครได้สะท้อนปัญหา และทางออกร่วมกันว่า อยากจะเห็นชาวนาใช้ชีวิตอย่างมีความสุข มีเพื่อนร่วมอาชีพที่สามารถปรึกษาหารือกันได้ ใช้ชีวิตสมฐานะไม่ต้องมีหนี้สิ้นติดตัว สุขภาพแข็งแรงชีวิตแจ่มใส ชาวนาต้องไม่ใช่คนที่ไม่มีความรู้ แต่เขาเก่งไม่เหมือนคนอื่น

ความหวัง “ชาวนา (รุ่นใหม่) มืออาชีพ” จึงต้องเชี่ยวชาญทั้งการปลูกข้าว การวางแผนบริหารและมีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้ต่อไปโรงเรียนชาวนา หรืออาจจะขยายเป็นมหาวิทยาลัยชาวนา เป็นที่พึ่งและทางออกของปากท้องของคนไทยได้เต็มปากเต็มคำดังเช่นในอดีต

ขอบคุณ http://manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9560000089848 (ขนาดไฟล์: 185)

ASTVผู้จัดการออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 25 ก.ค.56

ที่มา: ASTVผู้จัดการออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 25 ก.ค.56
วันที่โพสต์: 25/07/2556 เวลา 04:01:12 ดูภาพสไลด์โชว์ สร้าง “ลูกชาวนามืออาชีพ” ตอบโจทย์เรียนไป“ไม่จน-ไม่เหนื่อย-เท่ห์”

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

เมื่อพูดถึงปัญหา “แน่นอก”ชนิด “กลืนไม่เข้าคายไม่ออก”ตอนนี้ คงหนีไม่พ้น “ข้าวไทย”ที่ผู้ใหญ่ใจดีหลายฝ่ายกำลังช่วยกันหาทางออกให้ชาวนาได้ลืมตาอ้า ปากกันอีกครั้ง!แต่หากมองย้อนไปให้ถึงรากหญ้าปัญหา “ทำนา แต่ไม่ได้นา”ทำให้อาชีพที่ถูกขนานนามว่าเป็น “สันหลังของชาติ” กลายเป็นอาชีพที่คนรุ่นใหม่ปฏิเสธ “สันหลังของชาติ” กลายเป็นอาชีพที่คนรุ่นใหม่ปฏิเสธ สถาบันวิชาการด้าน สหกรณ์ คณะเศรษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ร่วมจัดงาน สถาบันวิชาการด้านสหกรณ์ คณะเศรษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)จึงร่วมกันจัด “โครงการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ชาวนามืออาชีพ” กล่าว ถึงโครงสร้างปัญหาของชาวนาไทยที่ทำนาแล้วไม่ได้นาว่า ชาวนาไทยกำลังเผชิญกับโจทย์ที่ท้าทายความอยู่รอด นอกจากนี้ก็ยังมีการถ่ายทอดโรงเรียนชาวนามืออาชีพออกมาในรูปแบบการ์ตูน เพื่อดึงดูดให้เด็กเยาวชนสนใจ รศ.จุฑาทิพย์ ภัทราวาท ผู้อำนวยการสถาบันวิชาการด้านสหกรณ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะหัวหน้าโครงการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ชาวนามืออาชีพ กล่าวว่า ความเสี่ยงของชาวนาไทยคือ การเผชิญกับความไม่รู้และขาดทักษะการทำการเกษตรสมัยใหม่ จึงมีการออกแบบหลักสูตรโรงเรียนลูกชาวนาเพื่อสร้างชาวนามืออาชีพประกอบด้วย ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ และความรู้ในการดำเนินชีวิต เมื่อวิเคราะห์ปัญหาโครงสร้างชาวนาไทยจึงมาจาก 3 ปัจจัยสำคัญคือ 1. การแบกรับต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น 2. การขาดทักษะและความรู้ ทั้งความรู้เท่าทันกลไกตลาด การลดต้นทุนการผลิตและการจัดการ จึงตกเป็นเหยื่อธุรกิจการผลิต การขายปุ๋ยและสารเคมี และ 3. ขาดวิถีชีวิตที่พอเพียงทั้งการส่งลูกเข้าเรียนในเมืองทำให้หมดตัวกับการ ศึกษา เป็นหนี้เงินกู้จากกับดักเฟอร์นิเจอร์สมัยใหม่ นอกจากนี้ยังถูกกระหน่ำจากปัจจัยภายนอกทั้งการถูกนายทุนผูกขาดกดราคาตลาดทำ ให้ไม่มีอำนาจต่อรอง กฎหมายที่ไม่เอื้อต่อชาวนารายย่อย นโยบายรัฐที่แก้ปัญหาปลายเหตุโดยไม่แก้ที่ต้นเหตุคือการติดอาวุธทางปัญญาให้ กับชาวนาไทยรุ่นใหม่” “โครงการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ชาวนามืออาชีพ” ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ที่ ปรึกษาด้านวิชาการ สสค.ระบุสถิติเยาวชนไทยเข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาเพียง30% ขณะเด็กส่วนใหญ่ 70% ทะยอยหลุดจากระบบการศึกษาตั้งแต่ป.6นั้นต้องเข้าสู่ระบบแรงงานแบบไม่ตั้งตัว ทำให้ไม่มีทักษะเพียงพอในการประกอบอาชีพ สร้างปัญหาการว่างงานจึงเห็นควรว่า เทรนด์การศึกษาไทยยุคใหม่ต้องเน้นเรื่องการมีงานทำ “ประเด็นสำคัญคือ ต้องเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้จากการถ่ายทอดเป็นการลงมือทำ โดยต้องอาศัยความร่วมมือจากภาครัฐ ขยายผลหลักสูตรทั้งในและนอกระบบ เพื่อส่งเสริมการเรียนทักษะอาชีพ และอาศัยความร่วมมือจากสื่อเพื่อต่อสู้กับกระบวนการความคิดที่รู้สึกว่าเป็น ชาวนา เป็นเกษตรกรแล้ว“เหนื่อย จนไม่เท่ห์” โดยทำให้เด็กเยาวชนรุ่นใหม่เห็นว่า ชีวิต “ชาวนามหาเศรษฐี ทำได้จริงอย่างไร?” ซึ่งเป็นการต่อสู่กันในความคิด เพื่อแก้ปัญหาลูกชาวนาลูกเกษตรกรละทิ้งไร่สวน เพราะมีค่านิยมที่ทำนา ไม่ได้นา ล่าสุดอายุเฉลี่ยของเกษตรกรไทยก็พุ่งสูงขึ้นเป็น 55 ปีและจะสูงถึง 65 ปี หากปัญหาไม่ได้แก้ไขใน 10 ปีนี้” ด.ญ.อมรลักษณ์ คงขิม ด้าน ด.ญ.อมรลักษณ์ คงขิม อายุ 14 ปี โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 2 หนึ่งในเยาวชนที่ร่วมโรงเรียนลูกชาวนา จ.อยุธยา กล่าวว่า สิ่งที่ได้จากโรงเรียนลูกชาวนาคือการเป็นเกษตรกรที่ดี เช่น การใช้ปุ๋ยชีวภาพจากฮอร์โมนไข่ที่ทำจากไข่ นม น้ำตาล ฉีดรอบนาข้าวแทนยาฆ่าแมลง ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิตและดีต่อสุขภาพทั้งพ่อแม่และผู้บริโภค นอกจากนี้การที่ได้เรียนรู้ร่วมกับเพื่อนที่เป็นลูกชาวนาด้วยกันทำให้เกิด ความภาคภูมิใจที่ได้เกิดเป็นลูกชาวนา เพราะถ้าไม่มีชาวนาแล้วคนไทยก็ไม่มีข้าวกิน และในอนาคตก็อยากเป็นชาวนารุ่นใหม่ที่มีการวางแผนการผลิต การแปรรูป และต้องมีการรวมกลุ่มกันเพื่อตั้งสหกรณ์เพื่อมีอำนาจต่อรองจากทุนภายนอก สำหรับ “เนื้อหาในพ็อกเก็ตบุ๊คการ์ตูนชาวนามืออาชีพ” นั้น สะท้อนถึงปัญหาหัวอกพ่อลูกชาวนาไทยคู่หนึ่ง ที่แม้ลูกชายจะเติบโตอย่างมีความสุขในท้องนา แต่สังคมกับคิดตรงข้าม“เพื่อนร่วมชั้นเดียวกันเล่าว่า พ่อทำนามาตั้งแต่ผมเกิดจนตอนนี้พ่อก็ยังเป็นแค่ชาวนาจนๆเหมือนเดิม ถึงผมจะชอบไปนากับพ่อ แต่เพื่อนๆที่โรงเรียนชอบว่า ชาวนาน่ะ ยังไงก็จนไปทั้งชีวิต..” ตัวละครได้สะท้อนปัญหา และทางออกร่วมกันว่า อยากจะเห็นชาวนาใช้ชีวิตอย่างมีความสุข มีเพื่อนร่วมอาชีพที่สามารถปรึกษาหารือกันได้ ใช้ชีวิตสมฐานะไม่ต้องมีหนี้สิ้นติดตัว สุขภาพแข็งแรงชีวิตแจ่มใส ชาวนาต้องไม่ใช่คนที่ไม่มีความรู้ แต่เขาเก่งไม่เหมือนคนอื่น ความหวัง “ชาวนา (รุ่นใหม่) มืออาชีพ” จึงต้องเชี่ยวชาญทั้งการปลูกข้าว การวางแผนบริหารและมีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้ต่อไปโรงเรียนชาวนา หรืออาจจะขยายเป็นมหาวิทยาลัยชาวนา เป็นที่พึ่งและทางออกของปากท้องของคนไทยได้เต็มปากเต็มคำดังเช่นในอดีต ขอบคุณ http://manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9560000089848 ASTVผู้จัดการออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 25 ก.ค.56

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...