หลังคาแดงเผยชายไทยติดสุรา 84% พร้อมใช้ยาเสพติดร่วม

แสดงความคิดเห็น

ชายวัยกลางคนแสดงอาการกลุ่มใจ

หลังคาแดงเผยงานวิจัย ผู้ป่วยติดสุราใช้ยาเสพติดร่วม และมีโรคจิตเวชร่วม เสี่ยงฆ่าตัวตาย ทำร้ายตัวเองมากกว่ากลุ่มอื่น ชี้ผู้ป่วยติดสุราที่มีโรคร่วมต้องได้รับการประเมินทุกราย เพื่อป้องกันและเฝ้าระวัง

น.ส.อุ่นจิตร คุณารักษ์ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา กรมสุขภาพจิต นำเสนองานวิจัย เรื่อง พฤติกรรมฆ่าตัวตายในผู้ป่วยสุราที่มีโรคร่วมจิตเวช ในการประชุมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 ว่า พฤติกรรมการฆ่าตัวตายเป็นปัญหาสำคัญในผู้ติดสุรา โดยในประเทศไทยพบว่า ร้อยละ 50 ของการฆ่าตัวตายมีความสัมพันธ์กับการใช้สารเสพติด และมีความเสี่ยงทำร้ายตัวเองมากว่าคนกลุ่มอื่น 3.6 เท่า จากการเก็บข้อมูลตั้งแต่ 1 พ.ย.54 - 31 ม.ค.55 ในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจิตเวช สังกัดกรม สุขภาพจิต จำนวน 410 คน ซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิตเวชที่เกี่ยวข้องกับสุราหรือแอลกอฮอล์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีความคิดฆ่าตัวตาย 128 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 84.4 ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 31-40ปี

น.ส.อุ่นจิตร กล่าวอีกว่า โรคร่วมที่พบว่าทำให้เกิดพฤติกรรมฆ่าตัวตายคือ โรคจิตเวช 77 ราย คิดเป็นร้อยละ 60.2 โดยในช่วงการสำรวจ ในช่วง 1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาลมีผู้พยายามฆ่าตัวตาย 18 ราย หรือร้อยละ 14.1 โดยในจำนวนนี้มีการดื่มสุราร่วมด้วย 11 ราย หรือร้อยละ 8.6 ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมพบว่า ผู้ป่วยสุราที่มีโรคร่วมจิตเวช มี โรคซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน มีโรควิตกกังวล และโรคทางจิต มีพฤติกรรมฆ่าตัวตายแตกต่างจากผู้ป่วยสุราที่ไม่มีโรคจิตเวชร่วมอย่างมีนัย สำคัญ ทำให้ผู้ป่วยสุราที่มีโรคจิตเวช ร่วม เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายมากกว่า 10.229 เท่า และผู้ป่วยสุราร่วมกับโรคซึมเศร้าจะเสี่ยงฆ่าตัวตายมากกว่าคนที่ไม่มีโรคซึม เศร้า 4.418 เท่า และผู้ที่มีโรคอารมณ์แปร ปรวนจะเสี่ยงฆ่าตัว ตายมากกว่า 2.186 เท่า ดังนั้น ผู้ป่วยโรคสุราที่มีโรคร่วมควรได้รับการประเมินความเสี่ยงฆ่าตัวตาย ทุกราย เพื่อป้องกันและเฝ้าระวัง

ขอบคุณ... http://manager.co.th/Qol/ViewNews.aspxNewsID=9560000124058 (ขนาดไฟล์: 185)

ASTVผู้จัดการออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 3 ต.ค.56

ที่มา: ASTVผู้จัดการออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 3 ต.ค.56
วันที่โพสต์: 3/10/2556 เวลา 03:31:21 ดูภาพสไลด์โชว์ หลังคาแดงเผยชายไทยติดสุรา 84% พร้อมใช้ยาเสพติดร่วม

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ชายวัยกลางคนแสดงอาการกลุ่มใจ หลังคาแดงเผยงานวิจัย ผู้ป่วยติดสุราใช้ยาเสพติดร่วม และมีโรคจิตเวชร่วม เสี่ยงฆ่าตัวตาย ทำร้ายตัวเองมากกว่ากลุ่มอื่น ชี้ผู้ป่วยติดสุราที่มีโรคร่วมต้องได้รับการประเมินทุกราย เพื่อป้องกันและเฝ้าระวัง น.ส.อุ่นจิตร คุณารักษ์ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา กรมสุขภาพจิต นำเสนองานวิจัย เรื่อง พฤติกรรมฆ่าตัวตายในผู้ป่วยสุราที่มีโรคร่วมจิตเวช ในการประชุมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 ว่า พฤติกรรมการฆ่าตัวตายเป็นปัญหาสำคัญในผู้ติดสุรา โดยในประเทศไทยพบว่า ร้อยละ 50 ของการฆ่าตัวตายมีความสัมพันธ์กับการใช้สารเสพติด และมีความเสี่ยงทำร้ายตัวเองมากว่าคนกลุ่มอื่น 3.6 เท่า จากการเก็บข้อมูลตั้งแต่ 1 พ.ย.54 - 31 ม.ค.55 ในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจิตเวช สังกัดกรม สุขภาพจิต จำนวน 410 คน ซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิตเวชที่เกี่ยวข้องกับสุราหรือแอลกอฮอล์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีความคิดฆ่าตัวตาย 128 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 84.4 ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 31-40ปี น.ส.อุ่นจิตร กล่าวอีกว่า โรคร่วมที่พบว่าทำให้เกิดพฤติกรรมฆ่าตัวตายคือ โรคจิตเวช 77 ราย คิดเป็นร้อยละ 60.2 โดยในช่วงการสำรวจ ในช่วง 1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาลมีผู้พยายามฆ่าตัวตาย 18 ราย หรือร้อยละ 14.1 โดยในจำนวนนี้มีการดื่มสุราร่วมด้วย 11 ราย หรือร้อยละ 8.6 ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมพบว่า ผู้ป่วยสุราที่มีโรคร่วมจิตเวช มี โรคซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน มีโรควิตกกังวล และโรคทางจิต มีพฤติกรรมฆ่าตัวตายแตกต่างจากผู้ป่วยสุราที่ไม่มีโรคจิตเวชร่วมอย่างมีนัย สำคัญ ทำให้ผู้ป่วยสุราที่มีโรคจิตเวช ร่วม เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายมากกว่า 10.229 เท่า และผู้ป่วยสุราร่วมกับโรคซึมเศร้าจะเสี่ยงฆ่าตัวตายมากกว่าคนที่ไม่มีโรคซึม เศร้า 4.418 เท่า และผู้ที่มีโรคอารมณ์แปร ปรวนจะเสี่ยงฆ่าตัว ตายมากกว่า 2.186 เท่า ดังนั้น ผู้ป่วยโรคสุราที่มีโรคร่วมควรได้รับการประเมินความเสี่ยงฆ่าตัวตาย ทุกราย เพื่อป้องกันและเฝ้าระวัง ขอบคุณ... http://manager.co.th/Qol/ViewNews.aspxNewsID=9560000124058 ASTVผู้จัดการออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 3 ต.ค.56

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...