นี่อาจเป็นอีกหนึ่งวิธีการช่วยเหลือผู้พิการทางร่างกายในโลกอนาคต?

แสดงความคิดเห็น

อีกหนึ่งวิธีการช่วยเหลือผู้พิการทางร่างกายในโลกอนาคต?

จะพาไปดูการใช้วิทยาศาสตร์ทางการแพทย์มาหาทางช่วยเหลือผู้พิการทางร่างกาย โดยก่อนนี้อาจเคยได้ยินการใช้ Stentrode ขนาด 3 มิลลิเมตร นั่นคือ ขดลวดขนาดเท่าคลิปหนีบกระดาษ ที่จะทำหน้าที่เป็นอิเล็กโทรด หรือเป็นตัวนำไฟฟ้าคล้ายขั้วแบตเตอรี่ ซึ่งจะถูกส่งเข้าไปในสมอง โดย Stentrode จะอยู่เหนือเปลือกสมองใหญ่ หรือ Motor Cortex ซึ่งจะเข้าไปมีส่วนช่วยในการควบคุมสมองส่วนสั่งการ ดังนั้นความคาดหวังทางการแพทย์คือหากผู้ป่วยมีการ "คิด" ผ่านสมองเพื่อสั่งการให้มีการเคลื่อนไหวก็จะมีการส่งสัญญาณที่ถูกขยายเข้าไปยังผนังเส้นโลหิตที่ใกล้สมองไปยังประสาทและแปลคำสั่งที่ใช้ในการควบคุมร่างกายออกสู่ภายนอก ซึ่งในส่วนด้านนอก แพทย์ใช้อุปกรณ์ที่จะช่วยในการพยุงขามาเป็นตัวเสริมในการเดินและทรงตัว

ทั้งนี้ยังเป็นการทดลองและยังไม่ได้นำมาใช้จริงกับคนไข้ โดยการทดลองนี้ในออสเตรเลีย คาดว่าจะถูกนำมาทดลองใช้จริงกับผู้ป่วยในปี 2017 ซึ่งหากประสบความสำเร็จนี่อาจเป็นอีกหนึ่งก้าวสำคัญจะช่วยรักษาผู้ป่วย โดยไม่ต้องใช้การผ่าตัดสมอง

ขอบคุณ... http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1462783969

ที่มา: ประชาชาติธุรกิจออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 9 พ.ค.59
วันที่โพสต์: 10/05/2559 เวลา 10:20:53 ดูภาพสไลด์โชว์ นี่อาจเป็นอีกหนึ่งวิธีการช่วยเหลือผู้พิการทางร่างกายในโลกอนาคต?

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

อีกหนึ่งวิธีการช่วยเหลือผู้พิการทางร่างกายในโลกอนาคต? จะพาไปดูการใช้วิทยาศาสตร์ทางการแพทย์มาหาทางช่วยเหลือผู้พิการทางร่างกาย โดยก่อนนี้อาจเคยได้ยินการใช้ Stentrode ขนาด 3 มิลลิเมตร นั่นคือ ขดลวดขนาดเท่าคลิปหนีบกระดาษ ที่จะทำหน้าที่เป็นอิเล็กโทรด หรือเป็นตัวนำไฟฟ้าคล้ายขั้วแบตเตอรี่ ซึ่งจะถูกส่งเข้าไปในสมอง โดย Stentrode จะอยู่เหนือเปลือกสมองใหญ่ หรือ Motor Cortex ซึ่งจะเข้าไปมีส่วนช่วยในการควบคุมสมองส่วนสั่งการ ดังนั้นความคาดหวังทางการแพทย์คือหากผู้ป่วยมีการ "คิด" ผ่านสมองเพื่อสั่งการให้มีการเคลื่อนไหวก็จะมีการส่งสัญญาณที่ถูกขยายเข้าไปยังผนังเส้นโลหิตที่ใกล้สมองไปยังประสาทและแปลคำสั่งที่ใช้ในการควบคุมร่างกายออกสู่ภายนอก ซึ่งในส่วนด้านนอก แพทย์ใช้อุปกรณ์ที่จะช่วยในการพยุงขามาเป็นตัวเสริมในการเดินและทรงตัว ทั้งนี้ยังเป็นการทดลองและยังไม่ได้นำมาใช้จริงกับคนไข้ โดยการทดลองนี้ในออสเตรเลีย คาดว่าจะถูกนำมาทดลองใช้จริงกับผู้ป่วยในปี 2017 ซึ่งหากประสบความสำเร็จนี่อาจเป็นอีกหนึ่งก้าวสำคัญจะช่วยรักษาผู้ป่วย โดยไม่ต้องใช้การผ่าตัดสมอง ขอบคุณ... http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1462783969

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...