แก้กฎหมายแรงงาน เพิ่มโอกาสทำงานให้นักเรียน นักศึกษา คนพิการ ผู้สูงอายุ

แสดงความคิดเห็น

นายสุเมธ มโหสถ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.)

กระทรวงแรงงาน เผยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เกิดความยืดหยุ่นในการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ เพื่อใช้บังคับแก่แรงงานเฉพาะกลุ่ม เพิ่มโอกาสการทำงานให้แก่นักเรียน นักศึกษา คนพิการและผู้สูงอายุ

นายสุเมธ มโหสถ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า ตามที่กระทรวงแรงงาน โดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้มีการแก้ไข ปรับปรุงพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ซึ่งขณะนี้สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้มีมติรับหลักการในวาระแรกของร่างกฎหมายแล้ว โดยสาระสำคัญที่มีการปรับปรุงแก้ไขในร่างพ.ร.บ. ดังกล่าวที่สำคัญประการหนึ่งคือ การให้อำนาจคณะกรรมการค่าจ้างในการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำเพื่อใช้บังคับกับแรงงานเฉพาะกลุ่ม เช่น นักเรียน นักศึกษา คนพิการ และผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และการขับเคลื่อน 8 วาระปฏิรูปของกระทรวงแรงงานในการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ

ทุนมนุษย์ สร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ใช้แรงงาน อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กล่าวเพิ่มเติมว่า การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำสำหรับลูกจ้างบางกลุ่มหรือบางประเภท เช่น การกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมง สำหรับ นักเรียน นักศึกษา ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงานเต็มเวลา และอาจมีลักษณะการทำงานที่แตกต่างจากลูกจ้างทั่วไป จะก่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการจ้างงานส่งผลให้แรงงานกลุ่มนี้มีโอกาสได้รับการจ้างงานเพิ่มมากขึ้น

มีความมั่นคงในชีวิตและมีศักยภาพในการดูแลตนเองสูงขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ ในการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายดังกล่าว ยังกำหนดให้นายจ้างไม่ต้องส่งสำเนาข้อบังคับฯ ให้กับเจ้าหน้าที่ เพื่อลดภาระของนายจ้าง เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศไทยในการลดขั้นตอนการประกอบธุรกิจ ซึ่งส่งผลดีต่อการจูงใจในการเข้ามาลงทุนในประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาลและเมื่อมีการลงทุนเพิ่มมากขึ้นก็จะก่อให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้นด้วย

ขอบคุณ... http://www.ryt9.com/s/prg/2630099

ที่มา: ryt9.comออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 10 เม.ย.60
วันที่โพสต์: 11/04/2560 เวลา 10:05:41 ดูภาพสไลด์โชว์ แก้กฎหมายแรงงาน เพิ่มโอกาสทำงานให้นักเรียน นักศึกษา คนพิการ ผู้สูงอายุ

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

นายสุเมธ มโหสถ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) กระทรวงแรงงาน เผยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เกิดความยืดหยุ่นในการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ เพื่อใช้บังคับแก่แรงงานเฉพาะกลุ่ม เพิ่มโอกาสการทำงานให้แก่นักเรียน นักศึกษา คนพิการและผู้สูงอายุ นายสุเมธ มโหสถ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า ตามที่กระทรวงแรงงาน โดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้มีการแก้ไข ปรับปรุงพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ซึ่งขณะนี้สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้มีมติรับหลักการในวาระแรกของร่างกฎหมายแล้ว โดยสาระสำคัญที่มีการปรับปรุงแก้ไขในร่างพ.ร.บ. ดังกล่าวที่สำคัญประการหนึ่งคือ การให้อำนาจคณะกรรมการค่าจ้างในการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำเพื่อใช้บังคับกับแรงงานเฉพาะกลุ่ม เช่น นักเรียน นักศึกษา คนพิการ และผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และการขับเคลื่อน 8 วาระปฏิรูปของกระทรวงแรงงานในการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ ทุนมนุษย์ สร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ใช้แรงงาน อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กล่าวเพิ่มเติมว่า การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำสำหรับลูกจ้างบางกลุ่มหรือบางประเภท เช่น การกำหนดอัตราค่าจ้างรายชั่วโมง สำหรับ นักเรียน นักศึกษา ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงานเต็มเวลา และอาจมีลักษณะการทำงานที่แตกต่างจากลูกจ้างทั่วไป จะก่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการจ้างงานส่งผลให้แรงงานกลุ่มนี้มีโอกาสได้รับการจ้างงานเพิ่มมากขึ้น มีความมั่นคงในชีวิตและมีศักยภาพในการดูแลตนเองสูงขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ ในการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายดังกล่าว ยังกำหนดให้นายจ้างไม่ต้องส่งสำเนาข้อบังคับฯ ให้กับเจ้าหน้าที่ เพื่อลดภาระของนายจ้าง เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศไทยในการลดขั้นตอนการประกอบธุรกิจ ซึ่งส่งผลดีต่อการจูงใจในการเข้ามาลงทุนในประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาลและเมื่อมีการลงทุนเพิ่มมากขึ้นก็จะก่อให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้นด้วย ขอบคุณ... http://www.ryt9.com/s/prg/2630099

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...