ถอยเพื่อก้าวไปข้างหน้า

แสดงความคิดเห็น

ภาพ นายบรรเจิด สิงคะเนติ คณบดีคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ความหวังที่คู่ขัดแย้งในสังคมไทยขณะนี้จะได้หันหน้ามาเจรจากัน เพื่อนำไปสู่หนทางการยุติปัญหา เพื่อให้ชาติบ้านเมืองสามารถเดินหน้าต่อไปได้นั้น ยังถือว่า ไม่ถึงทางอับจนเสียทีเดียว หลังจาก นายบรรเจิด สิงคะเนติ คณบดีคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ แกนนำกลุ่มสยามประชาภิวัฒน์ ให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ เอาไว้เมื่อเร็วๆ นี้ ถึงทางออกของวิกฤติการณ์ทางการเมือง ที่เขาเห็นว่าอาจกำลังจะนำไปสู่ภาวะที่เรียกกันว่า รัฐบาลที่ล้มเหลวคือไม่สามารถบริหารงานได้ และการเลือกตั้งก็ล้มเหลว เพราะไม่เป็นผลใดๆ ว่า เป็นเรื่องทางกฎหมายยึดโยงตามสถาบัน องค์กรทางการเมืองที่มีอยู่ กระบวนการอาจเกิดขึ้นโดยประธานรัฐสภา ยื่นเรื่องโดยองค์กรศาลเพื่อวินิจฉัยผ่าทางตัน "โดยการปฏิรูปการเมืองนั้น ทำไมประชาชนจะต้องไปรอให้คู่ขัดแย้งทะเลาะกันให้จบ การปฏิรูปก็ควรจะมีเส้นทางเดินของตนเองไป ไม่เกี่ยวกับการเมือง"

ลำดับต่อจากนั้น มีความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจมากยิ่งขึ้น เมื่อ 7 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ อันประกอบไปด้วย 1.คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) 2.ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3.คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) 4.คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) 5.องค์กรอัยการ 6.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) และ 7.สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้หารือถึงทางออกของประเทศ และได้ข้อสรุปถึงแนวทางการเจรจา หนทางสู่ความสำเร็จ และกรอบการเจรจา เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยผู้นำ 7 องค์กรอิสระจะแถลงร่วมกัน ในวันจันทร์ที่ 17 มีนาคมนี้ ซึ่งผู้นำ 7 องค์กรจะแจ้งให้คู่ขัดแย้งยอม "ถอยคนละก้าว" เพื่อให้มีรัฐบาลคนกลาง ปฏิรูปการเมืองโดยสองฝ่ายมีส่วนร่วม และจัดการเลือกตั้งใหม่ภายในเวลา 1 ปี

ว่ากันถึงที่สุดแล้ว ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมไทยเริ่มปรากฏให้เห็นนับตั้งแต่การปฏิรูปการ เมืองครั้งก่อนเมื่อปี 2540 โดยนักการเมืองใช้วิธีซิกแซ็กพลิกแพลงโดยอาศัย "เนติบริกร" และบรรดาพวกศรีธนญชัย แหวกหาช่องของกฎหมายที่ถูกออกแบบขึ้นมาใหม่เป็นอย่างดี เป็นเครื่องมือในการครองอำนาจ คุกคามฝ่ายตรงข้าม และแสวงหาผลประโยชน์อย่างไม่รู้จบ สร้างเครือข่ายการเมืองและธุรกิจขึ้นมาจนแข็งแกร่ง อย่างที่อีกฝ่ายหนึ่งขนานนามว่า "ระบอบ" ในเวลาต่อมา ใช่ว่าความขัดแย้งจะเพิ่งมาปรากฏในช่วงเวลากว่า 4 เดือน ที่มวลชนออกมาเดินขบวนบนท้องถนนเพื่อต่อต้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมที่ จะยกโทษให้แก่นักการเมืองที่เป็นปัญหามาตั้งแต่หลังการปฏิรูปปี 2540 จนถึงการขับไล่รัฐบาลที่เป็นร่างทรงของระบอบดังกล่าวมา

ความพยายามของ 7 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ในอันที่จะยุติความขัดแย้ง คืนความสงบสุขให้แก่สังคมไทย ถือเป็นนิมิตหมายเป็นการจุดประกายขึ้นอีกครั้งหนึ่งว่า เมื่อทุกฝ่ายหรือหลายๆ ฝ่ายได้ทำหน้าที่โดยสมบูรณ์ในอันที่จะขจัดปัดเป่าวิกฤติต่างๆ แล้ว ก็ย่อมจะมีทางออกเสมอ ทั้งนี้ การพบปะหารือของคู่ขัดแย้ง หรือแม้แต่ฝ่ายต่างๆ ที่จะเข้าร่วมในเวทีที่กำลังจะเกิดขึ้นนี้ ก็ต้องตระหนักถึงมูลเหตุของปัญหาที่สั่งสมมานานกว่า 10 ปี ที่จะต้องชะล้างทำความสะอาดด้วยการปฏิรูปไปพร้อมกัน การถอยคนละก้าว จะต้องเป็นการถอยเพื่อที่จะร่วมกันก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคงในเวลาเดียวกัน ด้วย

ขอบคุณ http://www.komchadluek.net/mobile/detail/20140317/180988.html (ขนาดไฟล์: 167)

(komchadluek ออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 1/ มี.ค.57)

ที่มา: komchadluek ออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 1/ มี.ค.57
วันที่โพสต์: 17/03/2557 เวลา 03:04:34 ดูภาพสไลด์โชว์ ถอยเพื่อก้าวไปข้างหน้า

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ภาพ นายบรรเจิด สิงคะเนติ คณบดีคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ความหวังที่คู่ขัดแย้งในสังคมไทยขณะนี้จะได้หันหน้ามาเจรจากัน เพื่อนำไปสู่หนทางการยุติปัญหา เพื่อให้ชาติบ้านเมืองสามารถเดินหน้าต่อไปได้นั้น ยังถือว่า ไม่ถึงทางอับจนเสียทีเดียว หลังจาก นายบรรเจิด สิงคะเนติ คณบดีคณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ แกนนำกลุ่มสยามประชาภิวัฒน์ ให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ เอาไว้เมื่อเร็วๆ นี้ ถึงทางออกของวิกฤติการณ์ทางการเมือง ที่เขาเห็นว่าอาจกำลังจะนำไปสู่ภาวะที่เรียกกันว่า รัฐบาลที่ล้มเหลวคือไม่สามารถบริหารงานได้ และการเลือกตั้งก็ล้มเหลว เพราะไม่เป็นผลใดๆ ว่า เป็นเรื่องทางกฎหมายยึดโยงตามสถาบัน องค์กรทางการเมืองที่มีอยู่ กระบวนการอาจเกิดขึ้นโดยประธานรัฐสภา ยื่นเรื่องโดยองค์กรศาลเพื่อวินิจฉัยผ่าทางตัน "โดยการปฏิรูปการเมืองนั้น ทำไมประชาชนจะต้องไปรอให้คู่ขัดแย้งทะเลาะกันให้จบ การปฏิรูปก็ควรจะมีเส้นทางเดินของตนเองไป ไม่เกี่ยวกับการเมือง" ลำดับต่อจากนั้น มีความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจมากยิ่งขึ้น เมื่อ 7 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ อันประกอบไปด้วย 1.คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) 2.ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3.คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) 4.คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) 5.องค์กรอัยการ 6.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) และ 7.สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้หารือถึงทางออกของประเทศ และได้ข้อสรุปถึงแนวทางการเจรจา หนทางสู่ความสำเร็จ และกรอบการเจรจา เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยผู้นำ 7 องค์กรอิสระจะแถลงร่วมกัน ในวันจันทร์ที่ 17 มีนาคมนี้ ซึ่งผู้นำ 7 องค์กรจะแจ้งให้คู่ขัดแย้งยอม "ถอยคนละก้าว" เพื่อให้มีรัฐบาลคนกลาง ปฏิรูปการเมืองโดยสองฝ่ายมีส่วนร่วม และจัดการเลือกตั้งใหม่ภายในเวลา 1 ปี ว่ากันถึงที่สุดแล้ว ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมไทยเริ่มปรากฏให้เห็นนับตั้งแต่การปฏิรูปการ เมืองครั้งก่อนเมื่อปี 2540 โดยนักการเมืองใช้วิธีซิกแซ็กพลิกแพลงโดยอาศัย "เนติบริกร" และบรรดาพวกศรีธนญชัย แหวกหาช่องของกฎหมายที่ถูกออกแบบขึ้นมาใหม่เป็นอย่างดี เป็นเครื่องมือในการครองอำนาจ คุกคามฝ่ายตรงข้าม และแสวงหาผลประโยชน์อย่างไม่รู้จบ สร้างเครือข่ายการเมืองและธุรกิจขึ้นมาจนแข็งแกร่ง อย่างที่อีกฝ่ายหนึ่งขนานนามว่า "ระบอบ" ในเวลาต่อมา ใช่ว่าความขัดแย้งจะเพิ่งมาปรากฏในช่วงเวลากว่า 4 เดือน ที่มวลชนออกมาเดินขบวนบนท้องถนนเพื่อต่อต้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมที่ จะยกโทษให้แก่นักการเมืองที่เป็นปัญหามาตั้งแต่หลังการปฏิรูปปี 2540 จนถึงการขับไล่รัฐบาลที่เป็นร่างทรงของระบอบดังกล่าวมา ความพยายามของ 7 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ในอันที่จะยุติความขัดแย้ง คืนความสงบสุขให้แก่สังคมไทย ถือเป็นนิมิตหมายเป็นการจุดประกายขึ้นอีกครั้งหนึ่งว่า เมื่อทุกฝ่ายหรือหลายๆ ฝ่ายได้ทำหน้าที่โดยสมบูรณ์ในอันที่จะขจัดปัดเป่าวิกฤติต่างๆ แล้ว ก็ย่อมจะมีทางออกเสมอ ทั้งนี้ การพบปะหารือของคู่ขัดแย้ง หรือแม้แต่ฝ่ายต่างๆ ที่จะเข้าร่วมในเวทีที่กำลังจะเกิดขึ้นนี้ ก็ต้องตระหนักถึงมูลเหตุของปัญหาที่สั่งสมมานานกว่า 10 ปี ที่จะต้องชะล้างทำความสะอาดด้วยการปฏิรูปไปพร้อมกัน การถอยคนละก้าว จะต้องเป็นการถอยเพื่อที่จะร่วมกันก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคงในเวลาเดียวกัน ด้วย ขอบคุณ http://www.komchadluek.net/mobile/detail/20140317/180988.html (komchadluek ออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 1/ มี.ค.57)

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...