หมักน้ำเสียผลิตก๊าซชีวภาพ

แสดงความคิดเห็น

ผศ.ดร.อุษา อ้นทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง กล่าวในการเสวนา "เมล็ดพันธุ์ทางนวัตกรรม : สวนผักคนเมือง พลังงานทางเลือก อาหารปลอดภัย ชุมชนน่าอยู่" เวที "สานงาน เสริมพลัง ร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่" จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)ว่าภาคใต้มีการปลูกยางพารามาก

ซึ่งน้ำเสียที่เกิดจากการผลิต แผ่นยางพารา ที่มีกลิ่นเหม็นรบกวนคนในชุมชน มหาวิทยาลัย จึงร่วมกับสสส.คิดค้นการนำน้ำเสียจากการผลิตแผ่นยางพารามาผลิตก๊าซชีวภาพ เนื่องจากพบว่าในน้ำเสีย เมื่อนำมาหมักจะได้ก๊าซชีวภาพที่มีก๊าซมีเทนเป็นองค์ประกอบหลักถึงร้อยละ 70 มีคุณสมบัติจุดติดไฟได้ดี เป็นพลังงานทดแทนได้

ผศ.ดร.อุษา กล่าวว่า เริ่มจากนำน้ำเสียจากการผลิตแผ่นยางพารา มาบำบัดในถังหมักก๊าซชีวภาพ จะมีค่าความเป็นกรดลดลงจนสามารถนำไปใช้รดน้ำต้นไม้ได้ ส่วนกากหรือตะกอนนำไปทำเป็นปุ๋ยก๊าซชีวภาพที่ได้จากถังหมักนำมาประกอบอาหารทดแทนการใช้ก๊าซหุงต้ม

ปัจจุบัน แทบไม่ต้องเสียเงินซื้อก๊าซหุงต้มอีกเลย และ ลดมลพิษในชุมชนอีกด้วย นอกจากนี้ยังใช้มูลสุกร เศษพืชผัก มาผลิตได้ เป็นนวัตกรรมพลังงานทางเลือกที่เริ่มขยายไปยังพื้นที่เป้าหมายอื่นๆ

ขอบคุณ... http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROb1pXRXdNakV6TURZMU5nPT0=&sectionid=TURNek1BPT0=&day=TWpBeE15MHdOaTB4TXc9PQ==

ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 13 มิ.ย.56

ที่มา: ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 13 มิ.ย.56
วันที่โพสต์: 14/06/2556 เวลา 02:37:21

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ผศ.ดร.อุษา อ้นทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง กล่าวในการเสวนา "เมล็ดพันธุ์ทางนวัตกรรม : สวนผักคนเมือง พลังงานทางเลือก อาหารปลอดภัย ชุมชนน่าอยู่" เวที "สานงาน เสริมพลัง ร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่" จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)ว่าภาคใต้มีการปลูกยางพารามาก ซึ่งน้ำเสียที่เกิดจากการผลิต แผ่นยางพารา ที่มีกลิ่นเหม็นรบกวนคนในชุมชน มหาวิทยาลัย จึงร่วมกับสสส.คิดค้นการนำน้ำเสียจากการผลิตแผ่นยางพารามาผลิตก๊าซชีวภาพ เนื่องจากพบว่าในน้ำเสีย เมื่อนำมาหมักจะได้ก๊าซชีวภาพที่มีก๊าซมีเทนเป็นองค์ประกอบหลักถึงร้อยละ 70 มีคุณสมบัติจุดติดไฟได้ดี เป็นพลังงานทดแทนได้ ผศ.ดร.อุษา กล่าวว่า เริ่มจากนำน้ำเสียจากการผลิตแผ่นยางพารา มาบำบัดในถังหมักก๊าซชีวภาพ จะมีค่าความเป็นกรดลดลงจนสามารถนำไปใช้รดน้ำต้นไม้ได้ ส่วนกากหรือตะกอนนำไปทำเป็นปุ๋ยก๊าซชีวภาพที่ได้จากถังหมักนำมาประกอบอาหารทดแทนการใช้ก๊าซหุงต้ม ปัจจุบัน แทบไม่ต้องเสียเงินซื้อก๊าซหุงต้มอีกเลย และ ลดมลพิษในชุมชนอีกด้วย นอกจากนี้ยังใช้มูลสุกร เศษพืชผัก มาผลิตได้ เป็นนวัตกรรมพลังงานทางเลือกที่เริ่มขยายไปยังพื้นที่เป้าหมายอื่นๆ ขอบคุณ... http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROb1pXRXdNakV6TURZMU5nPT0=§ionid=TURNek1BPT0=&day=TWpBeE15MHdOaTB4TXc9PQ== ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 13 มิ.ย.56

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...