ร่าง กมธ. แก้ไขรัฐธรรมนูญรายมาตรา (1)

แสดงความคิดเห็น

ในขณะนี้คณะกรรมาธิการ (กมธ.) แก้ไขรัฐธรรมนูญรายมาตราทั้ง 3 คณะ ยังอยู่ระหว่างให้ “ผู้แปรญัตติ” มาชี้แจงประกอบคำแปรญัตติต่อกมธ. ก่อนที่จะได้มีการนำเสนอรายงานต่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร เพื่อพิจารณาในวาระ 2 และ 3

ซึ่งคอลัมน์ “เกาะติดรัฐธรรมนูญ” จะขอนำรายละเอียดสรุปผลการพิจารณาของ กมธ.ทั้ง 3 คณะ มานำเสนอว่าได้มีการแก้ไข หรือเพิ่มเติมเนื้อหาจากที่ได้รับหลักการในวาระที่ 1 มากน้อยแค่ไหน ดังนี้ 1.คณะกรรมาธิการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่...) พ.ศ... (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 68 และมาตรา 237) มีจำนวน 5 มาตรา โดยมีผู้แปรญัตติ 203 คน

มาตรา 1 ไม่มีการแก้ไข

“มาตรา 1 รัฐธรรมนูญนี้เรียกว่า “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่...) พุทธศักราช...”

มาตรา 2 ไม่มีการแก้ไข

“มาตรา 2 รัฐธรรมนูญนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป”

มาตรา 3 (แก้ไขมาตรา 68 ) มีการแก้ไข

“มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรา 68 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“มาตรา 68 บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามหมวด 3 แห่งรัฐธรรมนูญนี้ เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม รัฐธรรมนูญนี้หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิ ได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้

ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อ เท็จจริง เมื่ออัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วเห็นว่าการกระทำดังกล่าว เป็นการกระทำที่ต้องห้าม ตามวรรคหนึ่ง ให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ยกเลิกการ กระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว หากอัยการสูงสุดเห็นว่าไม่เป็นการกระทำที่ต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง หรือการเสนอเรื่องไม่เป็นการเสนอตามวรรคนี้ ให้สั่งยุติเรื่อง คำสั่งของอัยการสูงสุดที่สั่งยุติเรื่องให้เป็นที่สุด

การตรวจสอบข้อเท็จจริงตามวรรคสอง ให้อัยการสูงสุดดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ เรื่อง หากอัยการสูงสุดไม่สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดัง กล่าวให้ผู้ทราบการกระทำมีสิทธิเสนอเรื่องนั้นเพื่อร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้โดยตรง ซึ่งต้องยื่นภายในสามสิบวันนับแต่ครบกำหนดเวลาที่อัยการสูงสุดดำเนินการตรวจ สอบข้อเท็จจริง

ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใดเลิกกระทำการตามวรรคสองศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมืองดังกล่าวได้”

มาตรา 4 (แก้ไขมาตรา 237) ไม่มีการแก้ไข

มาตรา 5 ไม่มีการแก้ไข

“มาตรา 5 ให้การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาของหัวหน้าพรรค การเมืองหรือกรรมการบริหารพรรคการเมืองเพราะเหตุมีคำวินิจฉัยให้ยุบพรรคการ เมืองตามมาตรา 68หรือมาตรา237วรรคสอง เป็นอันสิ้นสุด และให้ถือว่าบุคคลผู้นั้นไม่เคยเป็นผู้ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง”

ขอบคุณ... http://www.dailynews.co.th/article/15675/210506 (ขนาดไฟล์: 167)

ที่มา: เดลินิวส์ออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 10 มิ.ย.56
วันที่โพสต์: 10/06/2556 เวลา 03:29:50

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ในขณะนี้คณะกรรมาธิการ (กมธ.) แก้ไขรัฐธรรมนูญรายมาตราทั้ง 3 คณะ ยังอยู่ระหว่างให้ “ผู้แปรญัตติ” มาชี้แจงประกอบคำแปรญัตติต่อกมธ. ก่อนที่จะได้มีการนำเสนอรายงานต่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร เพื่อพิจารณาในวาระ 2 และ 3 ซึ่งคอลัมน์ “เกาะติดรัฐธรรมนูญ” จะขอนำรายละเอียดสรุปผลการพิจารณาของ กมธ.ทั้ง 3 คณะ มานำเสนอว่าได้มีการแก้ไข หรือเพิ่มเติมเนื้อหาจากที่ได้รับหลักการในวาระที่ 1 มากน้อยแค่ไหน ดังนี้ 1.คณะกรรมาธิการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่...) พ.ศ... (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 68 และมาตรา 237) มีจำนวน 5 มาตรา โดยมีผู้แปรญัตติ 203 คน มาตรา 1 ไม่มีการแก้ไข “มาตรา 1 รัฐธรรมนูญนี้เรียกว่า “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่...) พุทธศักราช...” มาตรา 2 ไม่มีการแก้ไข “มาตรา 2 รัฐธรรมนูญนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป” มาตรา 3 (แก้ไขมาตรา 68 ) มีการแก้ไข “มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรา 68 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 68 บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามหมวด 3 แห่งรัฐธรรมนูญนี้ เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม รัฐธรรมนูญนี้หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิ ได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้ ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อ เท็จจริง เมื่ออัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วเห็นว่าการกระทำดังกล่าว เป็นการกระทำที่ต้องห้าม ตามวรรคหนึ่ง ให้อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ยกเลิกการ กระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว หากอัยการสูงสุดเห็นว่าไม่เป็นการกระทำที่ต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง หรือการเสนอเรื่องไม่เป็นการเสนอตามวรรคนี้ ให้สั่งยุติเรื่อง คำสั่งของอัยการสูงสุดที่สั่งยุติเรื่องให้เป็นที่สุด การตรวจสอบข้อเท็จจริงตามวรรคสอง ให้อัยการสูงสุดดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ เรื่อง หากอัยการสูงสุดไม่สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดัง กล่าวให้ผู้ทราบการกระทำมีสิทธิเสนอเรื่องนั้นเพื่อร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้โดยตรง ซึ่งต้องยื่นภายในสามสิบวันนับแต่ครบกำหนดเวลาที่อัยการสูงสุดดำเนินการตรวจ สอบข้อเท็จจริง ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใดเลิกกระทำการตามวรรคสองศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมืองดังกล่าวได้” มาตรา 4 (แก้ไขมาตรา 237) ไม่มีการแก้ไข มาตรา 5 ไม่มีการแก้ไข “มาตรา 5 ให้การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาของหัวหน้าพรรค การเมืองหรือกรรมการบริหารพรรคการเมืองเพราะเหตุมีคำวินิจฉัยให้ยุบพรรคการ เมืองตามมาตรา 68หรือมาตรา237วรรคสอง เป็นอันสิ้นสุด และให้ถือว่าบุคคลผู้นั้นไม่เคยเป็นผู้ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง” ขอบคุณ... http://www.dailynews.co.th/article/15675/210506

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...