ศาลรัฐธรรมนูญรับคำร้องวินิจฉัยสมาชิกภาพ ส.ส.ของ "อภิสิทธิ์"

แสดงความคิดเห็น

ศาลรัฐธรรมนูญ 16 พ.ค.- ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 7 ต่อ 2 ให้รับคำร้อง 134 ส.ส. ที่ให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส.ของ "อภิสิทธิ์" หลังกระทรวงกลาโหมมีคำสั่งปลดออกจากราชการเป็นนายทหารกองหนุน

นายพิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์ หัวหน้าคณะโฆษกศาลรัฐธรรมนูญ แถลงภายหลังการประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ วันนี้ (16 พ.ค.) ว่า ที่ประชุมได้พิจารณาคำร้อง กรณีที่ประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งคำร้องของ ส.ส. 134 คน เพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสมาชิกภาพ ส.ส. ของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ กรณีกระทรวงกลาโหมมีคำสั่งปลดออกจากราชการ เป็นนายทหารกองหนุน โดยศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 7 ต่อ 2 เสียง รับคำร้องให้พิจารณากรณีดังกล่าว ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 91 และให้ผู้ถูกร้องยื่นคำชี้แจงขอกล่าวหา ภายในเวลาที่กำหนด 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับหนังสือจากศาลรัฐธรรมนูญ “สำหรับเสียงข้างน้อย คือ นายนุรักษ์ มาประณีต และนายชัช ชลวร โดยให้เหตุผลว่าข้อเท็จจริงยังไม่เป็นข้อยุติ” นายพิมล กล่าว

ส่วนกรณีที่นายวรินทร์ เทียมจรัส ส.ว. ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยรัฐธรรมนูญมาตรา 68 ว่า ประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา รวมถึง สมาชิกรัฐสภา รับร่างร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระที่ 1 เป็นการกระทำเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญด้วยการตัดสิทธิของบุคคลในการพิทักษ์รัฐ ธรรมนูญหรือไม่นั้น นายพิมล กล่าวว่า ศาลได้รับคำร้องการแก้ไขมาตรา 68 ไว้พิจารณา แต่ไม่รับคำร้องประเด็นการแก้ไขมาตรา 190 และถือเป็นคนละกรณีกัน

“นอกจากนี้ ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้องของนายบวร ยสินทร และคณะ ที่ขอให้ศาลวินิจฉัยว่า การแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 เป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพ เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม รัฐธรรมนูญ” นายพิมล กล่าว

นายพิมล เผยอีกว่า ศาลรัฐธรรมนูญยังวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มาตรา 74 มีปัญหาความชอบรัฐธรรมนูญ เพราะขัดหลักสิทธิเสรีภาพ กรณีให้ที่นิติบุคคลกระทำความผิดตาม พ.ร.บ.นี้ จะต้องให้ถือว่ากรรมการหรือผู้จัดการทุกคนเป็นผู้ร่วมกระทำผิดด้วย

ขอบคุณ… http://www.mcot.net/site/content?id=519489d2150ba05226000034#.UZWqBEqkPZ4 (ขนาดไฟล์: 175)

ที่มา: สำนักข่าวไทยออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 16 พ.ค.56
วันที่โพสต์: 17/05/2556 เวลา 06:27:21

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ศาลรัฐธรรมนูญ 16 พ.ค.- ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 7 ต่อ 2 ให้รับคำร้อง 134 ส.ส. ที่ให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส.ของ "อภิสิทธิ์" หลังกระทรวงกลาโหมมีคำสั่งปลดออกจากราชการเป็นนายทหารกองหนุน นายพิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์ หัวหน้าคณะโฆษกศาลรัฐธรรมนูญ แถลงภายหลังการประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ วันนี้ (16 พ.ค.) ว่า ที่ประชุมได้พิจารณาคำร้อง กรณีที่ประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งคำร้องของ ส.ส. 134 คน เพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสมาชิกภาพ ส.ส. ของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ กรณีกระทรวงกลาโหมมีคำสั่งปลดออกจากราชการ เป็นนายทหารกองหนุน โดยศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 7 ต่อ 2 เสียง รับคำร้องให้พิจารณากรณีดังกล่าว ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 91 และให้ผู้ถูกร้องยื่นคำชี้แจงขอกล่าวหา ภายในเวลาที่กำหนด 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับหนังสือจากศาลรัฐธรรมนูญ “สำหรับเสียงข้างน้อย คือ นายนุรักษ์ มาประณีต และนายชัช ชลวร โดยให้เหตุผลว่าข้อเท็จจริงยังไม่เป็นข้อยุติ” นายพิมล กล่าว ส่วนกรณีที่นายวรินทร์ เทียมจรัส ส.ว. ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยรัฐธรรมนูญมาตรา 68 ว่า ประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา รวมถึง สมาชิกรัฐสภา รับร่างร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระที่ 1 เป็นการกระทำเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญด้วยการตัดสิทธิของบุคคลในการพิทักษ์รัฐ ธรรมนูญหรือไม่นั้น นายพิมล กล่าวว่า ศาลได้รับคำร้องการแก้ไขมาตรา 68 ไว้พิจารณา แต่ไม่รับคำร้องประเด็นการแก้ไขมาตรา 190 และถือเป็นคนละกรณีกัน “นอกจากนี้ ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้องของนายบวร ยสินทร และคณะ ที่ขอให้ศาลวินิจฉัยว่า การแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 เป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพ เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม รัฐธรรมนูญ” นายพิมล กล่าว นายพิมล เผยอีกว่า ศาลรัฐธรรมนูญยังวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มาตรา 74 มีปัญหาความชอบรัฐธรรมนูญ เพราะขัดหลักสิทธิเสรีภาพ กรณีให้ที่นิติบุคคลกระทำความผิดตาม พ.ร.บ.นี้ จะต้องให้ถือว่ากรรมการหรือผู้จัดการทุกคนเป็นผู้ร่วมกระทำผิดด้วย ขอบคุณ… http://www.mcot.net/site/content?id=519489d2150ba05226000034#.UZWqBEqkPZ4

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...